ตอน คอนกรีต รู้ก่อนใช้ ผสม ......No. 167 November 2010...

2
No. 167 November 2010 44 TPA news คบเด็กสร้างบ้าน คบเด็กสร้างบ้าน นิพนธ์ ลักขณาอดิศร วิศวกรควบคุมระดับสามัญวิศวกรโยธา ผู้จัดการส่วนบริหารงานก่อสร้าง บริษัท เอเชี่ยน พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำากัด (มหาชน) ปัจ จุบันหากต้องการจะใช้คอนกรีตนั้นมีความสะดวกขึ้นมาก เนื่องจากมีบริการคอนกรีตผสมเสร็จกันแล้วโทรไปสั่ง สักครู เดียวก็มาส่งอย่างกับพิซซ่า เรียกได้ว่าไม่ต้องเสียแรงเสียเวลามาคลุกปูน คลุก หิน-ทรายกันให้เหงื่อแตกเหงื่อแตน อีกทั้งยังสามารถควบคุมคุณภาพของ คอนกรีตได้ดีกว่าอีกด้วย เพราะเดิมทีผู้รับเหมารายย่อยทั่วไปจะท�าการ ผสมคอนกรีตกันเองหน้างาน ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะละเลยในเรื่องอัตราส่วนการ ผสมและคุณภาพของวัสดุ คบเด็กสร้างบ้านตอนนี้จึงขอน�าเสนอความรู พื้นฐานส�าหรับเราๆ ท่านๆ ทั่วไปที่ต้องการใช้คอนกรีตผสมเสร็จในการ ต่อเติมบ้าน หรือสร้างบ้าน หรือแม้แต่วิศวกร โฟร์แมน ได้ทบทวนเพื่อ ประโยชน์ในการควบคุมงานก่อสร้าง คอนกรีตผสมเสร็จ (Ready-Mixed Concrete) ถูกควบคุมด้วย มอก. 213 การชั่งตวงวัดปริมาณซีเมนต์ หิน ทรายและน�้า รวมถึงสารผสม เพิ่มต่างๆ ในโรงงานนั้นจะก�าหนดด้วยวิธีชั่งน�้าหนัก ซึ่งจะต้องมีการตรวจ สอบเครื่องจักรอยู ่ตลอดเวลาเพื่อให้อัตราส่วนผสมที่ได้ก�าหนดไว้ถูกต้อง แน่นอนว่าการสั่งคอนกรีตจากโรงงานที่ผ่านการควบคุมมาตรฐานของ มอก. ก็มั่นใจได้ว่ามีมาตรฐานการผลิตที่เชื่อถือได้ การสั่งคอนกรีตมาใช้ นั้นจะระบุคุณสมบัติหลักๆ ดังนี1. ก�าลังอัดคอนกรีต (Compressive Strength) ปกติแล้วใน แบบก่อสร้างทางวิศวกรจะระบุก�าลังอัดเอาไว้ โดยมาตรฐานก�าลังอัดทีระบุนี้เป็นก�าลังคอนกรีตที่มีอายุ 28 วัน คุณสมบัติก�าลังอัดของคอนกรีต นี้เป็นคุณสมบัติหลักที่ต้องให้ความส�าคัญมากที่สุด เนื่องจากระบุถึงความ สามารถในการรับน�้าหนักของคอนกรีต อันมีผลต่อความแข็งแรงของ โครงสร้างที่เราจะใช้งาน โดยทั่วไปจะระบุเป็นหน่วย กก. ต่อ ตร.ซม. หรือ รู้ก่อนใช้ คอนกรีต ตอน (1) ผสมเสร็จ

Transcript of ตอน คอนกรีต รู้ก่อนใช้ ผสม ......No. 167 November 2010...

Page 1: ตอน คอนกรีต รู้ก่อนใช้ ผสม ......No. 167 November 2010 44 TPA news คบเด กสร างบ าน คบเด กสร างบ

No. 167 ● November 2010

44 TPA news

คบเด็กสร้างบ้าน

คบเด็กสร้างบ้าน

นิพนธ์ ลักขณาอดิศร

วิศวกรควบคุมระดับสามัญวิศวกรโยธา ผู้จัดการส่วนบริหารงานก่อสร้าง

บริษัท เอเชี่ยน พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำากัด (มหาชน)

ปัจจุบันหากต้องการจะใช้คอนกรีตน้ันมีความสะดวกขึ้นมาก เนื่องจากมีบริการคอนกรีตผสมเสร็จกันแล้วโทรไปสั่ง สักครู่

เดยีวกม็าส่งอย่างกบัพซิซ่า เรยีกได้ว่าไม่ต้องเสยีแรงเสยีเวลามาคลกุปนู คลกุหนิ-ทรายกนัให้เหงือ่แตกเหงือ่แตน อกีท้ังยงัสามารถควบคมุคณุภาพของคอนกรีตได้ดีกว่าอีกด้วย เพราะเดิมทีผู้รับเหมารายย่อยทั่วไปจะท�าการผสมคอนกรีตกันเองหน้างาน ซึง่ส่วนใหญ่กจ็ะละเลยในเรือ่งอัตราส่วนการผสมและคุณภาพของวัสดุ คบเด็กสร้างบ้านตอนนี้จึงขอน�าเสนอความรู ้พื้นฐานส�าหรับเราๆ ท่านๆ ทั่วไปท่ีต้องการใช้คอนกรีตผสมเสร็จในการต่อเติมบ้าน หรือสร้างบ้าน หรือแม้แต่วิศวกร โฟร์แมน ได้ทบทวนเพื่อประโยชน์ในการควบคุมงานก่อสร้าง

คอนกรีตผสมเสร็จ (Ready-Mixed Concrete) ถูกควบคุมด้วย มอก. 213 การชั่งตวงวัดปริมาณซีเมนต์ หิน ทรายและน�้า รวมถึงสารผสม

เพิม่ต่างๆ ในโรงงานนัน้จะก�าหนดด้วยวธิชีัง่น�า้หนกั ซึง่จะต้องมีการตรวจสอบเครื่องจักรอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้อัตราส่วนผสมท่ีได้ก�าหนดไว้ถูกต้อง แน่นอนว่าการสั่งคอนกรีตจากโรงงานที่ผ่านการควบคุมมาตรฐานของ มอก. ก็มั่นใจได้ว่ามีมาตรฐานการผลิตที่เชื่อถือได้ การสั่งคอนกรีตมาใช้นั้นจะระบุคุณสมบัติหลักๆ ดังนี้

1. ก�าลังอัดคอนกรีต (Compressive Strength) ปกติแล้วในแบบก่อสร้างทางวิศวกรจะระบุก�าลังอัดเอาไว้ โดยมาตรฐานก�าลังอัดที่ระบุนี้เป็นก�าลังคอนกรีตที่มีอายุ 28 วัน คุณสมบัติก�าลังอัดของคอนกรีตนีเ้ป็นคณุสมบตัหิลกัทีต้่องให้ความส�าคญัมากทีส่ดุ เนือ่งจากระบุถงึความสามารถในการรับน�้าหนักของคอนกรีต อันมีผลต่อความแข็งแรงของโครงสร้างที่เราจะใช้งาน โดยทั่วไปจะระบุเป็นหน่วย กก. ต่อ ตร.ซม. หรือ

รูก้อ่นใชค้อนกรตี

ตอน

(1)ผสมเสร็จ

Page 2: ตอน คอนกรีต รู้ก่อนใช้ ผสม ......No. 167 November 2010 44 TPA news คบเด กสร างบ าน คบเด กสร างบ

November 2010 ● No. 167

45TPA news

คบเด็กสร้างบ้าน

การเกบ็ก้อนตวัอย่างรปูทรงกระบอกตามมาตรฐาน ASTM C192 (ASTM: ชิ้นตัวอย่างทรงกระบอก) เป็นดังนี้

อุปกรณ์ที่ใช้1) แบบหล่อก้อนตัวอย่างทรงกระบอกเส้นผ่านศูนย์กลาง 15

ซม. สูง 30 ซม.2) เหล็กต�าปลายกลมมนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มม.3) ชั้นตักและเกรียงเหล็ก

วิธีเก็บตัวอย่าง1) ท�าความสะอาดแบบหล่อตัวอย่างและทาน�้ามันเคลือบ

แบบหล่อภายในทุกด้าน (เพื่อให้ง่ายเวลาถอดแบบ)2) ตกัคอนกรตีใส่แบบหล่อ โดยแบ่งเป็น 3 ช้ันเท่าๆ กนั แต่ละ

ชั้นต�าด้วยเหล็กต�า 25 ครั้ง (เพื่อให้เนื้อคอนกรีตสม�า่เสมอในแบบ)3) เมือ่ต�าช้ันสดุท้ายเสรจ็ น�าเกรยีงเหลก็ปาดหน้าผวิคอนกรตี

ให้เรียบ พร้อมทั้งท�าระเบียนบันทึกข้อมูลก้อนตัวอย่างติดที่ชิ้นตัวอย่างที่ต้องลงรายละเอียดวิธีการอย่างละเอียด เพราะหน้างานที่ผม

พบส่วนใหญ่พนักงานที่ดูแล หรือแม้แต่วิศวกรที่ควบคุมมักจะละเลยวิธีท่ีมาตรฐานก�าหนด รวมถงึไม่ทราบด้วยซ�า้ว่ามาตรฐานเขาก�าหนดไว้อย่างไร ทัง้ๆ ทีเ่ป็นเรือ่งใกล้ตวัมากๆ ส�าหรบัวศิวกรควบคมุงานก่อสร้าง ปริมาณการเก็บตัวอย่างมักจะสุ่มเก็บตัวอย่างทุกๆ การเทคอนกรีตปริมาณ 100 ม.3 หรือทุกพื้นที่ 500 ม.2 อย่างน้อย 3 ชิ้นตัวอย่างเพื่อหาค่าเฉลี่ยค่าทดสอบที่ได้ หากปริมาณคอนกรีตที่ใช้น้อยกว่า 30 ม.3 วิศวกรอาจละเว้นการเก็บตัวอย่างได้ซ่ึงขึ้นกับวิจารณญาณของวิศวกรผู้ควบคุมงานเป็นผู้ตัดสินใจ ส�าหรับมาตรฐานที่ทางสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยได้ใช้อ้างอิงในการตรวจสอบงานคอนกรตีนัน้ จะเป็นของอเมริกาเป็นหลัก

หากคุณมีค�าถาม ปัญหา อยากเข้ามาร่วมแบ่งปันประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องงานก่อสร้าง หรือมีข้อเสนอแนะ ติชม ผมยินดีรับฟังผ่านทาง

อีเมล์ [email protected] ครับ

ภาษาช่างเรยีกกนัว่า KSC (Kg per Square Centimeter) ราคาของคอนกรตีผสมเสรจ็นีก้จ็ะขึน้อยูก่บัก�าลังของคอนกรตีทีจ่ะสัง่ โดยคอนกรตีทีย่ิง่มกี�าลงัสูงก็จะยิ่งมีราคาแพงตามไปด้วย (ภาษาช่างเรียกกันว่า ราคาที่ตั้งนี้ซื้อกันที่ก�าลังคอนกรีตเป็นหลัก) ก�าลังอัดคอนกรีตที่ก�าหนดในแบบก่อสร้างนี้ จะระบุก�าลังอัดและบอกเพิ่มเติมด้วยว่าเป็นก�าลังอัดคอนกรีตของชิ้นตัวอย่างคอนกรีตรูปทรงอะไร ซึ่งตามมาตรฐานรูปร่างของชิ้นตัวอย่างคอนกรีต เพื่อน�าไปทดสอบนี้จะมี 2 ชนิด คือ รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์และรูปทรงกระบอกขึ้นกับมาตรฐานท่ีใช้อ้างอิง โดยมาตรฐานของอังกฤษจะก�าหนดให้เป็นชิ้นตัวอย่างรูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ขนาด15x15x15 ซม. (BS1881:PART3) ส่วนมาตรฐานของอเมรกิาจะก�าหนดให้เป็นช้ินตัวอย่างรปูทรงกระบอกขนาดเส้นผ่านศนูย์กลาง 15 ซม. สูง 30 ซม. (ASTM C192) ซึ่งมาตรฐานของทั้งสองแบบก็จะมีข้อก�าหนดแตกต่างกันในการเก็บก้อนตัวอย่าง ดังนี้

การเกบ็ก้อนตวัอย่างรปูทรงสีเ่หลีย่มลกูบาศก์ตามมาตรฐาน BS1881:PART3 เป็น ดังนี้

อุปกรณ์ที่ใช้1) แบบหล่อก้อนตัวอย่างทรงลูกบาศก์ขนาด 15x15x15 ซม.2) เหล็กต�าหน้าตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 1x1นิ้ว3) ชั้นตักและเกรียงเหล็กวิธีเก็บตัวอย่าง1) ท�าความสะอาดแบบหล่อตัวอย่างและทาน�้ามันเคลือบแบบ

หล่อภายในทุกด้าน (เพื่อให้ง่ายเวลาถอดแบบ)2) ตักคอนกรีตใส่แบบหล่อ โดยแบ่งเป็น 3 ชั้นเท่าๆ กัน แต่ละ

ชั้นต�าด้วยเหล็กต�า 35 ครั้ง (เพื่อให้เนื้อคอนกรีตสม�า่เสมอในแบบ)3) เม่ือต�าชัน้สดุท้ายเสรจ็ น�าเกรยีงเหล็กปาดหน้าผิวคอนกรตีให้

เรียบ พร้อมทั้งท�าระเบียนบันทึกข้อมูลก้อนตัวอย่างติดที่ชิ้นตัวอย่าง ต่อฉบับหน้าอ่าน