Animal hormone2 62 - Kasetsart...

Post on 07-Jul-2020

1 views 0 download

Transcript of Animal hormone2 62 - Kasetsart...

ฮอร์โมนสัตว์อ. พชันี วชิิตพนัธุ์

การส่งสัญญาณภายในร่างกาย• เพื่อให้สิ่งมชีีวติทีม่หีลายเซลล์สามารถม ีทุกอวยัวะ เนื้อเยื่อ เซลล์ หรือ

ส่วนประกอบภายในเซลล์สามารถทาํงานร่วมกนัได้อย่างเป็นระบบเช่น

การเจริญเตบิโต การเคลื่อนที ่การย่อยอาหาร การอ่านหนังสือ ฯลฯ

จาํเป็นต้องม ีการสื่อสารกนัระหว่างเซลล์มากมาย

– Paracrine

– Neurotransmitter

– Neurohormone

– True hormone

• โดยหากสื่อสารโดยสารเคมรีะหว่างตวัสัตว์

เราจะเรียกสารนั้นว่า Pheromone

ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System)คุณสมบัตขิองฮอร์โมน

1) สงัเคราะห์โดยต่อมไร้ท่อ หรือ กลุ่มเซลลพ์ิเศษ

2) หลัง่ออกสู่กระแสหมุนเวยีนโลหิต เพื่อถ่ายส่งไปสู่อวยัวะ

เป้าหมาย

3) โดยทัว่ไปฮอร์โมนแต่ละชนิดจะมีอิทธิพลต่ออวยัวะเป้าหมาย

หรือมีอิทธิพลต่อกลุ่มของอวยัวะที่ทาํหนา้ที่เกี่ยวขอ้งกนั แต่บางชนิด

สามารถมีอิทธิพลต่อหลายๆ อวยัวะอยา่งกวา้งขวาง

4) ระหวา่งกลุ่ม หรือชนิดของฮอร์โมน มีการประสานงานและ

ควบคุมซึ่งกนัและกนัในดา้นการสงัเคราะห์และการหลัง่สู่กระแส

โลหิต

ต่อมต่อม คือ อวยัวะที่มีหนา้ที่ในการหลัง่สาร

ต่อมในสตัวม์ี 2 ประเภท

1) Exocrine glands ผลิตสาร (เช่น เหงื่อ, สารเมือก, นํ้ายอ่ย และ

อื่นๆ) ที่มีการลาํเลียงสารไปสู่เป้าหมายผา่นทางท่อ (ducts)

2) Endocrine glands หรือ ต่อมไร้ท่อ ผลิตฮอร์โมนและลาํเลียงสู่

อวยัวะเป้าหมาย (target cells) โดยอาศยัการหมุนเวยีนโลหิต

สามารถเรียกวา่ต่อมไร้ท่อ (ductless glands) โดยอาศยัการหมุนเวยีน

โลหิต สามารถเรียกวา่ต่อมไร้ท่อ (ductless glands)

ตวัอย่างต่อมไร้ท่อในสัตว์มกีระดูกสันหลงั

http://subio.weebly.com/3649362736213656359135853634361936483619363736183609361936413657.html

แหล่งทีผ่ลติสารเคมทีีท่าํหน้าทีเ่สมือนฮอร์โมน• ต่อมไร้ท่อ (Endocrine gland) เป็นต่อมที่มีหนา้ที่หลัง่สารเคมี

หรือ ฮอร์โมน (Hormone) เขา้สู่กระแสเลือด และ ส่งไปทาํงาน

ที่อวยัวะเป้าหมาย

• กลุ่มของเซลลห์ลัง่สารของระบบประสาท (Neurosecretory

cell) สามารถหลัง่สารที่ทาํหนา้ที่คลา้ยฮอร์โมน

(Neurosecretions หรือ Neurohormones)

• เซลลต์ามอวยัวะต่าง ๆ ที่มีหนา้ที่

เฉพาะ เช่น เซลลบ์ุทางเดินอาหาร

เซลลใ์นตบัอ่อน เซลลท์ี่หวัใจ

เซลลท์ี่อวยัวะสืบพนัธุ์ เป็นตน้

Thymus Thymosin Peptide Stimulate T lymphocytes Not known

ตวัอย่างต่อมไร้ท่อในสัตว์ไม่มกีระดูกสันหลงั

ตวัอย่างการควบคุมสมดุลของนํา้ในร่างกายมนุษย์

เปรียบเทยีบระบบประสาท และ ระบบต่อมไร้ท่อระบบประสาท

• Neurotransmitters ปล่อยออกมาเพื่อตอบสนองต่อกระแสประสาท

• ส่งไปยงักล้ามเนื้อ ต่อม หรือ ระบบประสาทส่วนอื่น

• ผลให้เกดิการหดตวัของกล้ามเนื้อ หรือการหลัง่ของสาร

• ภายในเวลาเสี้ยววนิาที

• พฤตกิรรมเปลีย่นแปลงในระยะสั้น

ระบบต่อมไร้ท่อ

• ฮอร์โมนหลัง่ออกมาและส่งไปยงัเนื้อเยื่อเป้าหมายโดยกระแสโลหิต

• ส่งไปยงัทุกเซลล์ แต่เซลล์จะตอบสนองเฉพาะทีม่ี receptor

• ผลให้เกดิการเปลีย่นแปลง แมททาบอลซิึมของร่างกาย

• วนิาท ีชั่วโมง หรือวนั

• พฤตกิรรมเปลีย่นแปลงในระยะยาว

ฮอร์โมน: จดัอยู่ใน 3 กลุ่มของสารเคมี• Peptides ประกอบด้วยกรดอะมโิน มากกว่า 2 (ยาวถงึ 2-200

กรดอะมโิน) ต่อกนัด้วย peptide bonds เช่น Oxytocin

– Peptide hormone (2-50) - Protein hormone (>50)

• Steroids ประกอบด้วย carbon ring หลายหมู่ และแปลงมา

จาก cholesterol รวมถงึ Lipid related compounds เช่น

Testosterone, Estrogen

• Amino acid derived compounds เช่น Amines ประกอบด้วย

โมเลกลุขนาดเลก็จากกรดอะมโินทีด่ดัแปลงไป เช่น

Norepinephrine, Thyroxine, Melatonin

ผลของฮอร์โมนแต่ละกลุ่ม

• Peptide hormones activate signal transduction

parthways

• Steroid hormones alter transcription in the target

cell

• Amine hormones have diverse effects ทั้งการ

แสดงออกของยนี และ การกระตุ้น secondary

messengers เป็นต้น

กลไกการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนฮอร์โมนจะทาํใหเ้กิดการตอบสนองของเซลลเ์ป้าหมาย (target cells)

โดยมี receptors ที่เฉพาะเจาะจงที่เซลลน์ั้นๆ ซึ่งสามารถพบได้ 2

แห่ง คือ บนเยื่อหุ้มเซลล์ และ ภายในเซลล์

การออกฤทธิ์ของฮอร์โมนทีเ่ยื่อหุ้มเซลล์• สาํหรับฮอร์โมนที่ไม่สามารถแพร่ผา่นเยือ่หุม้เซลลไ์ด้ (Non-lipid-

soluble hormones)

• โดยฮอร์โมนเป็น 1st messengers จบักบั receptors ที่เยือ่หุม้เซลล์

ของเซลลใ์นอวยัวะเป้าหมาย

• Hormone-Receptor Complex กระตุน้ใหเ้กิดการสร้าง 2nd

messengers ไดแ้ก่ cyclic AMP

• cAMP หรือ IP3 เป็น 2nd messengers กระตุน้และเร่งใหเ้กิดการ

ทาํงานของ Enzymes หลายชนิดที่มีอยูใ่นเซลล์

• เกิดการตอบสนองไดอ้ยา่งรวดเร็ว

• เช่น epinephrine

การออกฤทธิ์ของฮอร์โมนภายในเซลล์

• สาํหรับฮอร์โมนที่สามารถผา่นเยือ่หุม้เซลลไ์ด ้(lipid-soluble hormones)

• โดยฮอร์โมนจะเขา้ไปจบักบั receptors ใน nucleus ของเซลล์

• Hormone-Receptor Complex จบักบั DNA และมีผลใหเ้กิดการสร้าง

mRNA และก่อใหเ้กิดการสงัเคราะห์ proteins (Enzymes)

• ใชเ้วลาในการตอบสนอง

• เช่น estrogen

การควบคุมการหลัง่ของฮอร์โมน

1. เป็นการควบคุมแบบ Feedback Mechanisms

2. การควบคุมการทาํงานโดยฮอร์โมนทีม่ผีลตรงข้ามAntagonistic regulation

3. การควบคุมการทาํงานของ pituitary glands โดยhypothalamus

4. การควบคุมการหลัง่ฮอร์โมน (tropic hormone) ทีม่ีอวยัวะเป้าหมายเป็นต่อมไร้ต่อ

5. การควบคุมการทาํงานโดยฮอร์โมนทีม่ผีลไปในทางเดยีวกนั

ตวัอย่าง Positive feedback

2. การควบคุมการทาํงานโดยฮอร์โมนทีม่ผีลตรงข้าม

Antagonistic regulation

3. การควบคุมการทาํงานของ pituitary glands โดย

hypothalamus

Hypothalamus มี neurosecretory

cells ซึ่งมี 2 กลุ่ม

1) ผลิตฮอร์โมนไปสะสมไวท้ี่

posterior pituitary gland

2) ผลิต releasing factors (RH)

เพื่อควบคุมการหลัง่ฮอร์โมนที่

anterior pituitary gland

ตวัอยา่งในโค

4. การควบคุมการหลัง่ฮอร์โมน (tropic hormone) ทีม่อีวยัวะ

เป้าหมายเป็นต่อมไร้ต่อ

ตวัอยา่งการควบคุม 3 แบบ ในการผลิตฮอร์โมนในต่อมหมวกไต• ขั้นที ่1 เป็นการควบคุมการทาํงาน

ของ anterior pituitary โดย Hypothalamus

• ขั้นที ่2 เป็นการควบคุมการทาํงานของ ต่อมหมวกไตดว้ย Tropic Hormone

• ขั้นตอนที ่3 คือ Negative feedback หลงัร่างกายปรับสู่สมดุลจะเกิดการยบัยงัการผลติCRH จากHypothalamus และ ยบัยงัการผลิต ACTH จาก anterior pituitary ทาํให้ไม่มีตวัมากระตุน้การทาํงานต่อมหมวกไตต่อไป

1

23

5. การควบคุมการ

ทาํงานโดยฮอร์โมนที่

มผีลไปในทาง

เดยีวกนั

ตวัอย่างการทาํงาน

ร่วมกนัของ

• FSH และ LH• estrogens และ

progesterone• นิสิตลองดู จะมีการ

ควบคุมการทาํงาน อีก

3 แบบ อยูใ่นวงจรนี้

เช่นกนั ขั้นตอนไหน

เป็นอะไรคะ