2.1...

44
โครงการโรงกลั่นนํ ้ามัน (ส่วนขยาย ครั้งที2) บทที2 บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จํากัด (มหาชน) รายละเอียดโรงกลั่นนํ ้ามัน 2.1 ที่ตั ้งโรงกลั่นนํ้ามัน โรงกลั ่นนํ ามันตั ้งอยู ่บนพื ้นที่ประมาณ 1,250 ไร่ ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ทางด้าน ทิศตะวันออก ดังแสดงในรูปที2.1-1 ถึง 2.1-2 ซึ ่งมีอาณาเขตติดต่อดังนี ทิศเหนือ ติดกับ บริษัท ระยองโอเลฟินส์ จํากัด และชุมชนวัดโสภณ (เมืองใหม่มาบตาพุด) ทิศใต้ ติดกับ ชุมชนตากวน-อ่าวประดู ทิศตะวันออก ติดกับ ชุมชนซอยร่วมพัฒนา ทิศตะวันตก ติดกับ บริษัท บางกอกโคเจนเนอเรชั่น จํากัด และบริษัท บางกอก อินดัสเทรียลแก๊ส จํากัด บริษัท ไทย จี ซี ไอ จํากัด กลุ ่มบริษัท เอสซีจีดาวน์ และบริษัท ลินเด้ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) สําหรับแผนผังของโรงกลั ่นนํ ามัน มีการจัดพื ้นที่ออกเป็นส ่วนต่างๆ ดังนี การใช้ประโยชน์ ขนาดพื้นทีไร่ ร้อยละ (1) พื ้นที่ของอาคารสํานักงาน อาคารสันทนาการ และสนามกีฬา 129 10.32 (2) พื ้นที่ของส ่วนการผลิต 248 19.84 (3) พื ้นที่ลานถัง 520 41.60 (4) พื ้นที่สีเขียว 103 8.24 (5) พื ้นที่สําหรับโครงการที่จะพัฒนาในอนาคต 250 20.00 รวม 1,250 100 T-MON218003/SECOT 2-1 SPRC(Refinery)-T218003(2H)-Chap2.docx

Transcript of 2.1...

  • โครงการโรงกลัน่นํา้มนั (ส่วนขยาย คร้ังท่ี 2) บทที่ 2

    บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์น่ิง จาํกัด (มหาชน) รายละเอียดโรงกลัน่นํา้มนั

    2.1 ที่ตั้งโรงกลัน่นํา้มัน

    โรงกลัน่นํ้ ามนัตั้งอยูบ่นพื้นท่ีประมาณ 1,250 ไร่ ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพดุ ทางดา้น

    ทิศตะวนัออก ดงัแสดงในรูปท่ี 2.1-1 ถึง 2.1-2 ซ่ึงมีอาณาเขตติดต่อดงัน้ี

    ทิศเหนือ ติดกบั บริษทั ระยองโอเลฟินส์ จาํกดั และชุมชนวดัโสภณ

    (เมืองใหม่มาบตาพดุ)

    ทิศใต ้ ติดกบั ชุมชนตากวน-อ่าวประดู่

    ทิศตะวนัออก ติดกบั ชุมชนซอยร่วมพฒันา

    ทิศตะวนัตก ติดกบั บริษทั บางกอกโคเจนเนอเรชัน่ จาํกดั และบริษทั บางกอก

    อินดสัเทรียลแก๊ส จาํกดั บริษทั ไทย จี ซี ไอ จาํกดั กลุ่มบริษทั

    เอสซีจีดาวน์ และบริษทั ลินเด ้(ประเทศไทย) จาํกดั (มหาชน)

    สาํหรับแผนผงัของโรงกลัน่นํ้ ามนั มีการจดัพื้นท่ีออกเป็นส่วนต่างๆ ดงัน้ี

    การใช้ประโยชน์ ขนาดพืน้ที ่

    ไร่ ร้อยละ

    (1) พื้นท่ีของอาคารสาํนกังาน อาคารสนัทนาการ และสนามกีฬา 129 10.32

    (2) พื้นท่ีของส่วนการผลิต 248 19.84

    (3) พื้นท่ีลานถงั 520 41.60

    (4) พื้นท่ีสีเขียว 103 8.24

    (5) พื้นท่ีสาํหรับโครงการท่ีจะพฒันาในอนาคต 250 20.00

    รวม 1,250 100

    T-MON218003/SECOT 2-1 SPRC(Refinery)-T218003(2H)-Chap2.docx

  • รูปที ่2.1-1 ทีต่ั้งโรงกลัน่นํา้มัน

    บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์น่ิง จํากดั (มหาชน)

    โครงการโรงกลั่นนํา้มนั (ส่วนขยาย คร้ังท่ี 2) บทท่ี 2

    บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์น่ิง จาํกัด (มหาชน) รายละเอียดโรงกลั่นนํา้มนั

    ทีต่ั้งโรงกลัน่นํา้มนั

    ชุมชนตากวน-อ่าวประดู่

    ชุมชนซอย

    ร่วมพฒันา

    ROC

    BCC, BIG

    TGCI

    DOW

    TIG

    ROC คือ บริษัท ระยองโอเลฟินส์ จํากดั

    BCC คือ บริษัท บางกอกโคเจนเนอเรช่ัน จํากัด

    BIG คือ บริษัท บางกอกอนิดสัเทรียลแก๊ส จํากดั

    TGCI คือ บริษัท ไทย จี ซี ไอ จํากัด

    TIG คือ บริษัท ไทยอนิดสัเทรียลแก๊ส จํากดั

    DOW คือ กลุ่มบริษัท เอส ซี จี ดาวน์

    ชุมชนวดัโสภณ

    (เมืองใหม่มาบตาพุด)

    T-MON218003-SECOT 2-2 SPRC(Refinery)-T218003(2H)-lay2.1-1.docx

  • T-M

    ON

    218003-SECOT 2-3

    SPR

    C(Refinery)-T218003(2H)-lay2.1-2.docx

    โครงการโรงกลั่นน

    ํา้มนั (ส่

    วนขยาย ครั้งที่

    2)

    บท

    ที่ 2

    บริษ

    ัท ส

    ตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟ

    น์นิ่

    ง จาํกัด (มหาชน

    ) รายละเอียดโรงกลั่น

    นํา้มนั

    รูปที่ 2.1-2 แผนผงัของโรงกลัน่นํา้มัน บริษทั สตาร์ ปิโตรเลยีม รีไฟน์น่ิง จาํกดั (มหาชน)

  • โครงการโรงกลัน่นํา้มนั (ส่วนขยาย คร้ังท่ี 2) บทที่ 2

    บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์น่ิง จาํกัด (มหาชน) รายละเอียดโรงกลัน่นํา้มนั

    2.2 วตัถุดบิ ตวัเร่งปฏิกริิยา และสารเคม ี

    สรุปชนิด ปริมาณ การขนส่ง และการเกบ็กกัของวตัถุดิบ และตวัเร่งปฏิกิริยา/สารเคมี

    ดงัแสดงในตารางท่ี 2.2-1

    2.3 กาํลงัการผลติและผลติภัณฑ์

    โรงกลัน่นํ้ ามนัดาํเนินการภายใตก้าํลงัการกลัน่นํ้ ามนัดิบท่ีกาํลงัการกลัน่ปกติ 165,000 บาร์เรล-

    ต่อวนั และท่ีกาํลงัการกลัน่สูงสุด 170,000 บาร์เรลต่อวนั โดยผลิตภณัฑท่ี์ไดจ้ากกระบวนการกลัน่ ไดแ้ก่

    ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) โพรไพลีน แนฟทา นํ้ามนัเบนซิน นํ้ามนัอากาศยาน นํ้ามนัดีเซล นํ้ามนัเตา

    ยางมะตอย กาํมะถนั (ชนิดเมด็) และไบโอดีเซล รายละเอียดชนิด ปริมาณ การเกบ็กกั และการขนส่ง

    ผลิตภณัฑ ์ดงัแสดงในตารางท่ี 2.3-1

    2.4 กระบวนการผลติ

    กระบวนการผลิตของโรงกลัน่นํ้ ามนั ประกอบดว้ย หน่วยผลิตหลกั หน่วยปรับปรุงคุณภาพ

    และหน่วยสนบัสนุนการผลิต สามารถสรุปหลกัการทาํงานของแต่ละหน่วยการผลิต ดงัแสดงในตารางท่ี

    2.4-1 ซ่ึงมีรายละเอียดดงัน้ี

    2.4.1 หน่วยผลติหลกั

    (1) หน่วยกลัน่นํา้มันดิบ (Crude Distillation Unit: CDU)

    หอกลัน่นํ้ ามนัดิบทาํหนา้ท่ีในการกลัน่แยกนํ้ามนัดิบ โดยนํ้ามนัดิบท่ีป้อนเขา้สู่หน่วยน้ี

    มีปริมาณกาํมะถนั ไม่สูงกวา่ ร้อยละ 1.82 โดยนํ้าหนกั ก่อนท่ีนํ้ามนัดิบจะเขา้สู่กระบวนการกลัน่จะตอ้ง

    ผา่นการบาํบดัดว้ยการใชน้ํ้ าละลายเกลือในนํ้ามนัดิบ และทาํการแยกนํ้าเกลือออกจากนํ้ามนัดิบท่ี Desalter

    โดยการใชป้ระจุไฟฟ้าเพื่อลดปัญหาการเส่ือมคุณสมบติัและการกดักร่อนของอุปกรณ์ในภายหลงั เม่ือแยก

    นํ้าเกลือออกแลว้นํ้ามนัดิบจะถูกทาํใหร้้อนโดยเตาใหค้วามร้อนท่ีกน้หอกลัน่ ก่อนป้อนเขา้สู่หอกลัน่ ซ่ึง

    ทาํงานท่ีอุณหภูมิ 360 องศาเซลเซียส และความดนั 2 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ีกน้หอกลัน่ เพื่อกลัน่

    แยกเป็นผลิตภณัฑ ์

    T-MON218003/SECOT 2-4 SPRC(Refinery)-T218003(2H)-Chap2.docx

  • T-MO

    N218003/SEC

    OT

    2-5

    SPRC

    (Refinery)-T218003(2H

    )-Chap2.docx

    โครงการโรงกลัน่น

    ํา้มนั (ส่

    วนขยาย ครั้งที่

    2) บ

    ทท

    ี่ 2

    บริษ

    ทั ส

    ตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟ

    น์นิ่

    ง จาํกัด (มหาชน

    ) รายละเอียดโรงกลัน่น

    ํา้มนั

    ตารางที ่2.2

    -

    1 สรุปชนิด สถานะ ลกัษณะ กลิน่ การใช้ประโยชน์ ปริมาณการใช้ แหล่งที่มา และวธีิการขนถ่ายวตัถุดิบ ตัวเร่งปฏิกริิยา และสารเคมี

    โรงกลัน่นํา้มัน บริษัท สตาร์ ปิโตรเลยีม รีไฟน์น่ิง จํากดั (มหาชน)

    วตัถุดบิ/ตัวเร่งปฏิกริิยา/

    สารเคมี

    สถานะ

    (ที่ STP) ลกัษณะกลิน่ การใช้ประโยชน์ ปริมาณการใช้ แหล่งที่มา วธีิการขนถ่าย

    วตัถุดบิ

    1. นํ้ามนัดิบ ของเหลว กล่ินเหมือน

    ปิโตรเลียม

    - เป็นวตัถุดิบตั้งตน้ 60 ลา้นบาร์เรลต่อปี - ตะวนัออกกลาง - ตะวนัออกไกล - อ่าวไทย

    - ขนส่งโดยทางเรือ สูบถ่ายผา่นทุ่นรับนํ้ามนั ส่งผา่นท่อมายงัถงัเกบ็กกัท่ี

    โรงกลัน่นํ้ามนั และส่งเขา้สู่หอกลัน่

    ผา่นทางท่อ

    ตัวเร่งปฏิกริิยา

    1. CoMo Catalyst ของแขง็ ไม่มีกล่ิน - ใชเ้ร่งปฏิกิริยาเพื่อกาํจดักาํมะถนัท่ี

    - จากต่างประเทศ - ขนส่งโดยทางรถจากท่าเทียบเรือ มายงัอาคารเกบ็กกั และนาํไปใชท่ี้

    กระบวนการผลิต โดยใชร้ถยก • HVGO-HTU 105.3 ตนั ทุก 2 ปี

    • TGTU 15 ตนั ทุก 5 ปี

    • Revemped DHTU 201.2 ตนั ทุก 2.5 ปี

    • WCN-HTU 19 ตนั ทุก 5 ปี

    2. NiMo Catalyst ของแขง็ ไม่มีกล่ิน - ใชเ้ร่งปฏิกิริยาเพื่อกาํจดักาํมะถนัท่ี

    • NHTU 12.9 ลกูบาศกเ์มตรทุก 4 ปี

    • Revamped DHTU 6.8 ตนั ทุก 2.5 ปี

    • WCN-HTU 41.6 ตนั ทุก 5 ปี

    3. Ni Catalyst ของแขง็ ไม่มีกล่ิน - ใชเ้ร่งปฏิกิริยาเพื่อลดสาร เบนซีนท่ี BSU

    12.7 ตนั ทุก 5 ปี

    - ใชเ้ร่งปฏิกิริยาเพื่อลดได- โอเลฟินส์ท่ี WCN-HTU

    7.4 ตนั ทุก 5 ปี

  • โครงการโรงกลัน่

    นํา้มนั

    (ส่วน

    ขยาย ครั้งที่ 2)

    บท

    ที่ 2

    บริษ

    ทั ส

    ตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟ

    น์นิ่

    ง จาํกัด (มหาชน

    ) รายละเอียดโรงกลัน่น

    ํา้มนั

    T-MO

    N218003/SEC

    OT

    2-6

    SPRC

    (Refinery)-T218003(2H

    )-Chap2.docx

    ตารางที ่2.2

    -

    1 (ต่อ) วตัถุดบิ/ตัวเร่งปฏิกริิยา/

    สารเคมี

    สถานะ

    (ที่ STP) ลกัษณะกลิน่ การใช้ประโยชน์ ปริมาณการใช้ แหล่งที่มา วธีิการขนถ่าย

    ตัวเร่งปฏิกริิยา (ต่อ)

    4. Platinum on Alumina Catalyst

    ของแขง็ ไม่มีกล่ิน - ใชเ้ร่งปฏิกิริยาเพื่อเพิ่มค่า ออกเทนของนํ้ามนัเบนซิน

    ท่ี CCRU

    5 ลูกบาศกเ์มตร

    ทุก 6 เดือน

    - จากต่างประเทศ - ขนส่งโดยทางรถจากท่าเทียบเรือ มายงัอาคารเกบ็กกั และนาํไปใชท่ี้

    กระบวนการผลิต โดยใชร้ถยก

    5. Division Octacat Catalyst

    ของแขง็ ไม่มีกล่ิน - ใชเ้ร่งปฏิกิริยาในการแตกตวันํ้ามนัหนกัท่ี RFCCU

    6 ตนัต่อวนั

    6. Catalyst DeSOx ของแขง็ ไม่มีกล่ิน - ใชล้ดก๊าซซลัเฟอร์ได-ออกไซดท่ี์ RFCCU

    0.4 ตนัต่อวนั

    7. UOP Merox Water Soluble Catalyst

    ของเหลว ไม่มีกล่ิน - ใชเ้ปล่ียนรูป Mercaptan ท่ี Saturated and Unsaturated

    LPG Merox Unit

    0.1 ตนั ทุก 6 เดือน

    8. UOP Merox Fixed Bed Catalyst

    ของเหลว ไม่มีกล่ิน - ใชเ้ปล่ียนรูป Mercaptan ท่ี LCN/MCN Merox and LSR

    Sweetening Merox Unit

    0.1 ตนั ทุก 5 ปี

    9. UOP Merox Plus Catalyst Promotor

    ของเหลว กล่ินไฮโดรคาร์บอน

    ค่อนขา้งหวาน

    - ใชเ้ปล่ียนรูป Mercaptan ท่ี LCN/MCN Merox and LSR

    Sweetening Merox Unit

    51 ลูกบาศกเ์มตร

    ทุก 6 เดือน

    10. Alumina Catalyst ของแขง็ ไม่มีกล่ิน - ใชเ้ร่งปฏิกิริยาเพื่อกาํจดักาํมะถนัท่ี

    • SRU 76 ตนั ทุก 5 ปี

    • Revamped DHTU 12 ตนั ทุก 2.5 ปี

    • WCN-HTU 5.2 ตนั ทุก 5 ปี

  • โครงการโรงกลัน่

    นํา้มนั

    (ส่วน

    ขยาย ครั้งที่ 2)

    บท

    ที่ 2

    บริษ

    ทั ส

    ตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟ

    น์นิ่

    ง จาํกัด (มหาชน

    ) รายละเอียดโรงกลัน่น

    ํา้มนั

    T-MO

    N218003/SEC

    OT

    2-7

    SPRC

    (Refinery)-T218003(2H

    )-Chap2.docx

    ตารางที ่2.2

    -

    1 (ต่อ) วตัถุดบิ/ตัวเร่งปฏิกริิยา/

    สารเคมี

    สถานะ

    (ที่ STP) ลกัษณะกลิน่ การใช้ประโยชน์ ปริมาณการใช้ แหล่งที่มา วธีิการขนถ่าย

    ตัวเร่งปฏิกริิยา (ต่อ)

    11. ALOA F-200 Activated Alumina

    Catalyst

    ของแขง็ ไม่มีกล่ิน - ใชป้รับปรุงคุณภาพโพรพลีิน ท่ี PGPU

    16.6 ตนั ทุก 5 ปี - จากต่างประเทศ - ขนส่งโดยทางรถจากท่าเทียบเรือมา ยงัอาคารเกบ็กกั และนาํไปใชท่ี้

    กระบวนการผลิต โดยใชร้ถยก

    12. ALOA Selexsorb COS Catalyst

    ของแขง็ ไม่มีกล่ิน - ใชป้รับปรุงคุณภาพโพรพลีิน ท่ี PGPU

    50 ตนั ทุก 5 ปี

    13. ALOA Copper Oxide/Zinc Oxide

    Catalyst

    ของแขง็ ไม่มีกล่ิน - ใชป้รับปรุงคุณภาพโพรพลีิน ท่ี PGPU

    4.2 ตนั ทุก 5 ปี

    14. ALOA T-162 Alumina Support

    Balls Catalyst

    ของแขง็ ไม่มีกล่ิน - ใชส้าํหรับรองรับตวัเร่งปฏิกิริยาท่ี PGPU

    5.6 ตนั ทุก 8 ปี

    สารดูดซับ

    1. Chloride Absorbent ของเหลว ไม่มีกล่ิน - ใชก้าํจดั Chloride จากแก๊ส และ PLF Reformate

    20 ตนัต่อปี - จากต่างประเทศ - ขนส่งโดยทางรถจากท่าเทียบเรือ มายงัอาคารเกบ็กกั และนาํไปใชท่ี้

    กระบวนการผลิต โดยใชร้ถยก 2. MRU Adsorbent ของแขง็ กล่ินกาํมะถนั อยา่งอ่อน

    - ใชใ้นการกาํจดัปรอทท่ี MRU 60 ลูกบาศกเ์มตรต่อปี

    3. Activated Carbon ของแขง็ ไม่มีกล่ิน - ใชใ้นการดกัจบัสารไฮโดรคาร์บอนท่ี VRU

    24 ตนัต่อ 10 ปี

  • โครงการโรงกลัน่

    นํา้มนั

    (ส่วน

    ขยาย ครั้งที่ 2)

    บท

    ที่ 2

    บริษ

    ทั ส

    ตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟ

    น์นิ่

    ง จาํกัด (มหาชน

    ) รายละเอียดโรงกลัน่น

    ํา้มนั

    T-MO

    N218003/SEC

    OT

    2-8

    SPRC

    (Refinery)-T218003(2H

    )-Chap2.docx

    ตารางที ่2.2

    -

    1 (ต่อ) วตัถุดบิ/ตัวเร่งปฏิกริิยา/

    สารเคมี

    สถานะ

    (ที่ STP) ลกัษณะกลิน่ การใช้ประโยชน์ ปริมาณการใช้ แหล่งที่มา วธีิการขนถ่าย

    สารเคมี

    1. Mercaptan ของเหลว กล่ินสารอะโรเมติกส์ - ใส่กล่ินให ้LPG 360 ลิตรต่อเดือน - ภายในประเทศ - ขนส่งโดยทางรถมายงัอาคารเกบ็กกั และนาํไปใชใ้นกระบวนการผลิต

    โดยใชร้ถยก

    2. โซเดียมไฮดรอกไซด ์ ของแขง็ ไม่มีกล่ิน - ใชใ้นการกาํจดัสารประกอบซลัเฟอร์

    2.46 ตนัต่อวนั - ภายในประเทศ - ขนส่งโดยทางรถ และสูบถ่ายลง ถงัเกบ็กกั

    - ปรับค่าความเป็นกรด-ด่าง 60.2 ตนัต่อปี 3. Dimethyl Disulfide ของเหลว กล่ินผลไม ้

    อยา่งอ่อน

    - ใชเ้ป็นตวัทาํละลายใหก้บั สารซลัเฟอร์ท่ี

    • Revamped DHTU

    65 ลูกบาศกเ์มตร (คร้ังแรก)

    • WCN-HTU 12 ลูกบาศกเ์มตร (คร้ังแรก)

    4. เมทิลเอสเตอร์ (B100) ของเหลว กล่ินไฮโดรคาร์บอนอ่อนๆ

    - ใชผ้สมกบันํ้ามนัดีเซล เพื่อผลิตไบโอดีเซล

    680,000 บาร์เรลต่อปี - บรรจุในถงั ขนส่งโดยทางรถ

    5. Alum ของเหลว ไม่มีกล่ิน - สาํหรับตกตะกอนนํ้าดิบ 175 ตนัต่อปี - ภายในประเทศ - ขนส่งโดยทางรถบรรทุก 6. NaOCl 10% Sodium

    Hypochlorite

    ของเหลว กล่ินฉุน - ใชค้วบคุมแบคทีเรียท่ีระบบปรับปรุงคุณภาพนํ้า

    387 ตนัต่อปี และจดัเกบ็ในถงับรรจุสารเคมี

    7. Polymer ของเหลว กล่ินอ่อน - สาํหรับช่วยในการตกตะกอน นํ้าดิบ

    8.9 ตนัต่อปี

    8. NaCl ของแขง็ ไม่มีกล่ิน - ใช ้Regen Softener Sodium Zeolite Resin

    311 ตนัต่อปี

    9. Membrane Antiscale ของเหลว กล่ินอ่อน - ใชป้้องกนัการเกิดตะกรันและการอุดตนับนเยือ่กรอง

    0.273 ตนัต่อปี

  • โครงการโรงกลัน่

    นํา้มนั

    (ส่วน

    ขยาย ครั้งที่ 2)

    บท

    ที่ 2

    บริษ

    ทั ส

    ตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟ

    น์นิ่

    ง จาํกัด (มหาชน

    ) รายละเอียดโรงกลัน่น

    ํา้มนั

    T-MO

    N218003/SEC

    OT

    2-9

    SPRC

    (Refinery)-T218003(2H

    )-Chap2.docx

    ตารางที ่2.2

    -

    1 (ต่อ) วตัถุดบิ/ตัวเร่งปฏิกริิยา/

    สารเคมี

    สถานะ

    (ที่ STP) ลกัษณะกลิน่ การใช้ประโยชน์ ปริมาณการใช้ แหล่งที่มา วธีิการขนถ่าย

    สารเคมี (ต่อ)

    10. Boiler Feed Water Neutralizer

    ของเหลว กล่ินเอมีน - ใชป้รับความเป็นกรดด่าง ของนํ้าป้อนหมอ้ไอนํ้า

    5.9 ตนัต่อปี - ภายในประเทศ - ขนส่งโดยทางรถบรรทุก และจดัเกบ็ ในถงับรรจุสารเคมี

    11. Oxygen Scavanger, Elininox

    ของเหลว ไม่มีกล่ิน - ใชก้าํจดัออกซิเจนท่ีเหลือ จากอุปกรณ์กาํจดัออกซิเจน

    ในนํ้าป้อนเขา้หมอ้ไอนํ้า

    3.5 ตนัต่อปี

    12. Boiler Antiscalant ของเหลว ไม่มีกล่ิน - ใชป้้องกนัการเกิดตะกรัน ในหมอ้ตม้ไอนํ้า

    37.3 ตนัต่อปี

    13. Cooling Water Antiscale

    ของเหลว ไม่มีกล่ิน - ใชป้้องกนัการเกิดตะกรัน ในระบบหล่อเยน็

    9.3 ตนัต่อปี

    14. Cooling Water Corrosion Inhibitor

    ของเหลว ไม่มีกล่ิน - ป้องกนัการกดักร่อนใน ระบบหล่อเยน็

    10 ตนัต่อปี

    15. Cooling Slime Control

    ของเหลว กล่ินอ่อน - ใชค้วบคุมการเจริญ เติบโตของแบคทีเรียในระบบ

    หล่อเยน็

    1.8 ตนัต่อปี

    16. Sulfuric Acid 98% ของเหลว ไม่มีกล่ิน - ใชป้รับความเป็นกรดด่าง ในระบบหล่อเยน็

    54 ตนัต่อปี

    17. Di-ethanolamine ของเหลว กล่ินคลา้ยแอมโมเนีย - ใชดู้ดซบัก๊าซไฮโดรเจน-ซลัไฟดจ์ากผลิตภณัฑ ์และ

    ก๊าซเช้ือเพลิงท่ีหน่วยผลิต

    ต่างๆ

    40 ตนัต่อปี - ต่างประเทศ - ขนส่งโดยรถบรรทุก และจดัเกบ็ ในถงับรรจุสารเคมี

    18. Methyl-diethanolamine

    ของเหลว กล่ินคลา้ยแอมโมเนีย - ใชดู้ดซบัจบัก๊าซไฮโดรเจน-ซลัไฟดท่ี์ TGTU

    15 ตนัต่อปี

    ทีม่า : บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์น่ิง จาํกดั (มหาชน), พ.ศ.2556

  • โครงการโรงกลัน่

    นํา้มนั

    (ส่วน

    ขยาย ครั้งที่ 2)

    บท

    ที่ 2

    บริษ

    ทั ส

    ตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟ

    น์นิ่

    ง จาํกัด (มหาชน

    ) รายละเอียดโรงกลัน่น

    ํา้มนั

    T-MO

    N218003/SEC

    OT

    2-10

    SPRC

    (Refinery)-T218003(2H

    )-Chap2.docx

    ตารางที ่2.3

    -

    1 สรุปประเภท สถานะ ลกัษณะกลิน่ ปริมาณ การเกบ็กกั และการขนส่ง ของผลติภัณฑ์

    โรงกลัน่นํา้มัน บริษัท สตาร์ ปิโตรเลยีม รีไฟน์น่ิง จํากดั (มหาชน)

    ประเภทผลติภัณฑ์ สถานะ

    (ที่ STP) ลกัษณะกลิน่

    ปริมาณ1/

    (ตันต่อวนั) การเกบ็กกั วธีิการขนส่ง

    1. ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) ก๊าซ ไม่มีกล่ิน 1,152 - เกบ็ในถงั Sphere จาํนวน 5 ถงั - ส่งผา่นท่อจากถงักกัเกบ็ไปจาํหน่ายโดยทางเรือ

    2. โพรไพลีน (Propylene) ก๊าซ ไม่มีกล่ิน 365 - เกบ็ในถงั Sphere จาํนวน 2 ถงั - ส่งผา่นท่อจากถงักกัเกบ็ไปจาํหน่ายโดยทางท่อ และทางเรือ

    3. แนฟทา (Naphtha) ของเหลว กล่ินเหมือนปิโตรเลียม (นํ้ามนั) 754 - เกบ็ในถงั Floating Roof จาํนวน 2 ถงั - ส่งผา่นท่อจากถงักกัเกบ็ไปจาํหน่ายโดยทางท่อ และทางเรือ

    4. นํ้ามนัเบนซิน (Mogas) ของเหลว สารอะโรเมติกส์ 4,617 - เกบ็ในถงั Floating Roof จาํนวน 7 ถงั

    - ส่งผา่นท่อจากถงักกัเกบ็ไปจาํหน่ายโดยทางรถบรรทุก ทางเรือ และทางท่อ

    5. นํ้ามนัอากาศยาน (Jet Fuel)

    ของเหลว กล่ินเหมือนปิโตรเลียม (นํ้ามนั) 1,757 - เกบ็ในถงั Cone Roof จาํนวน 4 ถงั - ส่งผา่นท่อจากถงักกัเกบ็ไปจาํหน่ายโดยทางท่อ และทางเรือ

    6. นํ้ามนัดีเซล (Diesel) ของเหลว กล่ินปิโตรเลียมอ่อนๆ 7,746 - เกบ็ในถงั Cone Roof จาํนวน 4 ถงั - ส่งผา่นท่อจากถงักกัเกบ็ไปจาํหน่ายโดยทางรถบรรทุกทางเรือ และทางท่อ

    7. นํ้ามนัเตาและยางมะตอย (Fuel Oil และ Asphalt)

    ของเหลว ไม่มีขอ้มูล 3,875 - เกบ็ในถงั Cone Roof และ Flating Roof จาํนวน 9 ถงั (ถงัเกบ็ Fuel Oil จาํนวน 6

    ถงั และถงัเกบ็ Asphalt จาํนวน 3 ถงั)

    - ส่งผา่นท่อจากถงักกัเกบ็ไปจาํหน่ายโดยทางรถบรรทุก และทางเรือ

    หมายเหตุ : 1/ ปริมาณผลิตภณัฑ ์อาจเปล่ียนแปลงไดต้ามความตอ้งการของตลาด โดยยงัคงอยูภ่ายใตก้าํลงัการกลัน่สูงสุด 170,000 บาร์เรลต่อวนั

    ท่ีไดท้าํการประเมินปริมาณการใชร้ะบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ และการเกิดมลพษิท่ีเก่ียวขอ้งไวแ้ลว้

  • โครงการโรงกลัน่

    นํา้มนั

    (ส่วน

    ขยาย ครั้งที่ 2)

    บท

    ที่ 2

    บริษ

    ทั ส

    ตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟ

    น์นิ่

    ง จาํกัด (มหาชน

    ) รายละเอียดโรงกลัน่น

    ํา้มนั

    T-MO

    N218003/SEC

    OT

    2-11

    SPRC

    (Refinery)-T218003(2H

    )-Chap2.docx

    ตารางที ่2.3

    -

    1 (ต่อ)

    ประเภทผลติภัณฑ์ สถานะ

    (ที่ STP) ลกัษณะกลิน่

    ปริมาณ1/

    (ตันต่อวนั) การเกบ็กกั วธีิการขนส่ง

    8. ซลัเฟอร์ (Pelletized Sulfur) ของเหลว ของแขง็

    ซลัเฟอร์ 230 - เกบ็ภายในถงั Cone Roof จาํนวน 1 ถงั - ลานกองพื้นซิเมนตท่ี์มีคนักั้นในท่ีโล่ง

    แจง้

    - ส่งผา่นท่อจากถงักกัเกบ็ไปจาํหน่ายโดยทางรถบรรทุก - บรรจุใส่รถบรรทุก

    9. ไบโอดีเซล (Biodiesel) ของเหลว กล่ินปิโตรเลียมอ่อนๆ 1,000 - เกบ็ในถงั Cone Roof จาํนวน 2 ถงั - ส่งผา่นท่อจากถงักกัเกบ็ไปจาํหน่ายโดยทางรถบรรทุก

    หมายเหตุ : 1/ ปริมาณผลิตภณัฑ ์อาจเปล่ียนแปลงไดต้ามความตอ้งการของตลาด โดยยงัคงอยูภ่ายใตก้าํลงัการกลัน่สูงสุด 170,000 บาร์เรลต่อวนั

    ท่ีไดท้าํการประเมินปริมาณการใชร้ะบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ และการเกิดมลพษิท่ีเก่ียวขอ้งไวแ้ลว้

    ที่มา : บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟนน่ิ์ง จาํกดั (มหาชน), พ.ศ.2556

  • โครงการโรงกลัน่

    นํา้มนั

    (ส่วน

    ขยาย ครั้งที่ 2)

    บท

    ที่ 2

    บริษ

    ทั ส

    ตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟ

    น์นิ่

    ง จาํกัด (มหาชน

    ) รายละเอียดโรงกลัน่น

    ํา้มนั

    T-MO

    N218003/SEC

    OT

    2-12

    SPRC

    (Refinery)-T218003(2H

    )-Chap2.docx

    ตารางที ่2.4

    -

    1 สรุปหน่วยการผลติของโรงกลัน่นํา้มัน

    บริษัท สตาร์ ปิโตรเลยีม รีไฟน์น่ิง จํากดั (มหาชน)

    ประเภท หน่วยผลติ สารป้อน หลกัการทํางาน ตัวเร่งปฏิกริยา อุณหภูมิและความดนั ผลติภัณฑ์

    1. หน่วยผลิตหลกั CDU นํ้ามนัดิบ กลัน่แยก ไม่ใช ้ 360 องศาเซลเซียส และความดนั 2 กิโล-

    กรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ีกน้หอกลัน่

    LPG, LSR, HSR, Kero,

    LDO, HDO, HAGO, AR

    VDU AR กลัน่แยกท่ีสุญญากาศ ไม่ใช ้ 400 องศาเซลเซียส ท่ีกน้หอกลัน่ LVGO, HVGO, VHVGO,

    VR

    RFCCU Treated HVGO,

    VHVGO

    ปฏิกิริยาแตกโมเลกลุภายใต้

    สภาวะแบบฟลอิูไดซ์

    ใช ้(Silica,

    Alumina, Rare

    Earth Oxide)

    515 องศาเซลเซียส และความดนั 2.4

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ี Reactor

    LPG, HCN, WCN,

    LCGO, DCO

    2. หน่วยปรับปรุงคุณภาพ NHTU HSR ปฏิกิริยากาํจดัซลัเฟอร์ดว้ย

    ไฮโดรเจน

    ใช ้(Ni-Co) 340 องศาเซลเซียส และความดนั 34

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ี Reactor

    Treated HSR

    PLF/CCRU Treated HSR ปฏิกิริยาการปรับปรุง Sweet

    HSR จาก NHTU ท่ีมีค่าออก-

    เทนตํ่า ใหเ้ป็น Reformate

    ท่ีมีค่าออกเทนสูง

    ใช ้(Pt บน

    Alumina Oxide)

    510 องศาเซลเซียส และความดนั 6

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ี Reactor

    Reformate, H2

    HVGO-HTU HVGO, HAGO ปฏิกิริยากาํจดัซลัเฟอร์ดว้ย

    ไฮโดรเจน

    ใช ้(Ni-Mo,

    Ni-CoMo)

    350-400 องศาเซลเซียส และความดนั 100

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ี Reactor

    Hydrotreated HVGO

    Unsaturated/

    Saturated LPG

    Merox Extraction

    Sweetening Unit

    LPG ปฏิกิริยาลดซลัเฟอร์โดย

    Liquid-Liquid Extraction

    ไม่ใช ้ 42 องศาเซลเซียส และความดนั 18

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ี Extractor

    Treated Saturated/

    Unsaturated LPG

    LSR/LCN/MCN

    Sweetening Unit

    LSR/LCN/MCN ปฏิกิริยา Mercaptan Oxidation ใช ้(Liquid

    Catalyst ฝังตวั

    บน Support)

    45 องศาเซลเซียส และความดนั 6

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ี Reactor

    Sweet LSR/LCN/MCN

  • โครงการโรงกลัน่

    นํา้มนั

    (ส่วน

    ขยาย ครั้งที่ 2)

    บท

    ที่ 2

    บริษ

    ทั ส

    ตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟ

    น์นิ่

    ง จาํกัด (มหาชน

    ) รายละเอียดโรงกลัน่น

    ํา้มนั

    T-MO

    N218003/SEC

    OT

    2-13

    SPRC

    (Refinery)-T218003(2H

    )-Chap2.docx

    ตารางที ่2.4

    -

    1 (ต่อ)

    ประเภท หน่วยผลติ สารป้อน หลกัการทํางาน ตัวเร่งปฏิกริยา อุณหภูมิและความดนั ผลติภัณฑ์

    2. หน่วยปรับปรุงคุณภาพ

    (ต่อ)

    Unsaturated LPG

    Splitting Unit

    Unsaturated LPG กลัน่แยก ไม่ใช ้ 105 องศาเซลเซียส และความดนั 18.5

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ีกน้หอกลัน่

    Mixed C3, Mixed C4

    Polymer Grade

    Propylene Unit

    Mixed C3 กลัน่แยก ไม่ใช ้ 40 องศาเซลเซียส และความดนั 12.5

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ีกน้หอกลัน่

    Propylene, Propane

    Jet Merox Unit Kerosene ปฏิกิริยา Mercaptan Oxidation ใช ้(Liquid

    Catalyst ฝังตวั

    บน Support)

    35 องศาเซลเซียส และความดนั 10

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ี Reactor

    Jet Fuel

    MRU Naphtha ปฏิกิริยาการดูดซึม ไม่ใช ้ 41 องศาเซลเซียส และความดนั 20

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ี Reactor

    Low Mercury Naphtha

    Revamped DHTU Diesel Feed, H2 ปฏิกิริยากาํจดัซลัเฟอร์ดว้ย

    ไฮโดรเจน

    ใช ้(Co-Mo) อุณหภูมิประมาณ 370 องศาเซลเซียล และ

    ความดนั 66 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร

    ท่ี Reactor

    Sweet Diesel และ H2S

    ท่ีละลายอยู ่

    WCN-HTU

    SHU Reactors WCN ปฏิกิริยาเปล่ียนรูปสารประกอบ

    Light Mercaptans และ Light

    Sulfides ใหเ้ป็นสารประกอบ

    Sulfur ท่ีมีขนาดใหญ่ข้ึน

    ใช ้(Ni-Mo) อุณหภูมิประมาณ 190 องศาเซลเซียสและ

    ความดนั 29 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร

    ท่ี Reactor

    WCN Mercaptan ตํ่า

    SHU Splitter WCN Mercaptan

    ตํ่า

    กลัน่แยก ไม่ใช ้ อุณหภูมิประมาณ 193 องศาเซลเซียสและ

    ความดนั 7.6 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร

    ท่ีกน้หอกลัน่

    Sweet LCN,

    MCN ซลัเฟอร์สูง

    HDS Reactors MCN ซลัเฟอร์สูง ปฏิกิริยากาํจดัซลัเฟอร์ดว้ย

    ไฮโดรเจน

    ใช ้ (Ni-CoMo) อุณหภูมิประมาณ 320 องศาเซลเซียสและ

    ความดนั 22 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร

    ท่ี Reactor

    MCN, Off Gas

  • โครงการโรงกลัน่

    นํา้มนั

    (ส่วน

    ขยาย ครั้งที่ 2)

    บท

    ที่ 2

    บริษ

    ทั ส

    ตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟ

    น์นิ่

    ง จาํกัด (มหาชน

    ) รายละเอียดโรงกลัน่น

    ํา้มนั

    T-MO

    N218003/SEC

    OT

    2-14

    SPRC

    (Refinery)-T218003(2H

    )-Chap2.docx

    ตารางที ่2.4

    -

    1 (ต่อ)

    ประเภท หน่วยผลติ สารป้อน หลกัการทํางาน ตัวเร่งปฏิกริยา อุณหภูมิและความดนั ผลติภัณฑ์

    2. หน่วยปรับปรุงคุณภาพ

    (ต่อ)

    Stabilizer Sweet MCN กลัน่แยกไล่ Off Gas ท่ีละลาย

    อยูอ่อก

    ไม่ใช ้ อุณหภูมิประมาณ 216 องศาเซลเซียสและ

    ความดนั 11 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร

    ท่ีกน้หอกลัน่

    MCN Product, Off Gas

    BSU Reformate กลัน่แยก ไม่ใช ้ อุณหภูมิประมาณ 166 องศาเซลเซียส Light Reformate, Heavy

    Reformate Splitter และความดนั 2 กิโลกรัมต่อตาราง

    เซนติเมตร ท่ีกน้หอกลัน่

    Reformate

    Stabilizer Low Bz

    Reformate+Off

    Gas

    กลัน่แยกไล่ Off Gas ท่ีละลาย

    อยูอ่อก

    ไม่ใช ้ อุณหภูมิประมาณ 135 องศาเซลเซียสและ

    ความดนั 7.1 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร

    ท่ีกน้หอกลัน่

    Treated Light Reformate,

    Off Gas

    3. หน่วยสนบัสนุนการผลิต ARU* (No.1 and

    No.2)

    Rich Amine กลัน่แยก ไม่ใช ้ 125 องศาเซลเซียส และความดนั 1 กิโล-

    กรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ีกน้หอกลัน่

    H2S, Lean Amine

    SWS* (No.1 and

    No.2)

    Sour Water กลัน่แยก ไม่ใช ้ 125 องศาเซลเซียส และความดนั 1

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ีกน้หอกลัน่

    H2S, NH3

    SRU* (No.1 and

    No.2)

    Sour Gas ปฏิกิริยาสร้างซลัเฟอร์จาก

    ก๊าซไฮโดรเจนซลัไฟด ์

    ใช ้(Activated

    alumina)

    320 องศาเซลเซียส และความดนั 1.8

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ี Reactor

    Tail Gas, กาํมะถนัเหลว

    TGTU Tail Gas จาก SRU ปฏิกิริยาสร้างก๊าซไฮโดรเจน

    ซลัไฟดเ์พือ่นาํไปกาํจดัท่ี SRU

    ใช ้(Co-Mo) 320 องศาเซลเซียส และความดนั 1.8

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ี Reactor

    H2S

    หมายเหตุ : *ผลิตภณัฑข์อง ARU, SWS และ SRU เป็นผลิตภณัฑท่ี์เกิดจากการบาํบดัสารมลพษิท่ีออกจากหน่วยผลิตหลกั และหน่วยปรับปรุงคุณภาพ ซ่ึงไม่ไดมี้การจาํหน่ายสู่ภายนอก

    ยกเวน้กาํมะถนัเหลวท่ีนาํไปผลิตเป็นเมด็เพื่อจาํหน่ายต่อไป

  • โครงการโรงกลัน่นํา้มนั (ส่วนขยาย คร้ังท่ี 2) บทที่ 2

    บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์น่ิง จาํกัด (มหาชน) รายละเอียดโรงกลัน่นํา้มนั

    ในกรณีท่ีโรงกลัน่นํ้ ามนัทาํการกลัน่นํ้ ามนัดิบท่ีมีปรอทเจือปน ผลิตภณัฑ ์ Whole

    Range Naphtha และ Wild Range Naphtha ประกอบดว้ย LPG, LSR และ HSR นั้น จะส่งผา่นเขา้สู่

    อุปกรณ์กาํจดัปรอท (Mercury Removal Unit : MRU) ท่ีอยูใ่นหน่วยกลัน่นํ้ ามนัดิบ ก่อนส่งไปแยกเพื่อให้

    ไดผ้ลิตภณัฑ ์ LSR, HSR และ LPG ต่อไป สาํหรับ Off Gas ท่ีควบแน่นไม่ไดจ้ะผา่นกระบวนการลด

    ปริมาณไฮโดรเจนซลัไฟด ์ โดยใช ้ Amine จาก ARU No.2 และผา่นการกาํจดัปรอทดว้ย Absorbent

    ท่ี MRU ก่อนใชเ้ป็นก๊าซเช้ือเพลิง (Fuel Gas) ต่อไป

    (2) หน่วยกลัน่สุญญากาศ (Vacuum Distillation Unit: VDU)

    หน่วยกลัน่สุญญากาศมีหนา้ท่ีกลัน่ Atmospheric Residuum (AR) จาก CDU โดยใช้

    การกลัน่ท่ีสุญญากาศ AR ถูกทาํใหร้้อนท่ีเตาใหค้วามร้อนก่อนเขา้สู่หอกลัน่สุญญากาศ โดยมีอุณหภูมิ

    ท่ีกน้หอกลัน่ประมาณ 400 องศาเซลเซียส เพื่อกลัน่แยกออกเป็นผลิตภณัฑ ์

    ระบบการเผาไหมท่ี้เตาใหค้วามร้อนของ CDU และ VDU เป็นชนิด Low NOx Burner

    เปล่ียนไปเป็นชนิด Ultra Low NOx Burner ซ่ึงเป็นระบบหวัเผาท่ีถูกพฒันาเทคโนโลยมีาจาก Low NOx

    Burner เพื่อช่วยควบคุมการระบายก๊าซออกไซดข์องไนโตรเจนจากการเผาไหมใ้หมี้ประสิทธิภาพมากยิง่ข้ึน

    ทาํใหค่้าการระบายของก๊าซออกไซดข์องไนโตรเจนท่ีระบายออกจากปล่อง CDU และ VDU มีค่าเป็นไป

    ตามท่ีกาํหนด

    นอกจากน้ี เพือ่เป็นการลดการใชพ้ลงังานท่ีเตาใหค้วามร้อนของ CDU และ VDU

    โรงกลัน่นํ้ ามนัไดท้าํการติดตั้งระบบ Air Preheater ท่ีบริเวณดา้นหนา้ของเตา อยา่งละ 1 หน่วย

    เพื่อแลกเปล่ียนความร้อนกบัอากาศจากภายนอก ก่อนส่งเขา้ไปช่วยในการเผาไหม ้ ระบบ Air Preheater

    ทาํหนา้ท่ีในการเพิ่มอุณหภูมิใหก้บัอากาศก่อนส่งเขา้สู่หอ้งเผาไหม ้ โดยการนาํก๊าซร้อน (Hot Flue Gas)

    ท่ีระบายออกจากปล่องระบายอากาศของ CDU และ VDU ซ่ึงมีอุณหภูมิเฉล่ียประมาณ 330 องศาเซลเซียส

    กลบัมาผา่น Air Preheater เพื่อแลกเปล่ียนความร้อนใหก้บัอากาศท่ีจะเขา้สู่กระบวนการเผาไหม ้ โดย

    สามารถเพิ่มอุณหภูมิของอากาศจากเดิมประมาณ 30-40 องศาเซลเซียส ใหมี้อุณหภูมิเพิ่มข้ึนประมาณ 230

    องศาเซลเซียส ส่งผลใหมี้ปริมาณความตอ้งการใชเ้ช้ือเพลิงในการเผาไหมล้ดลง โดยปริมาณการใชเ้ช้ือเพลิง

    ของเตาใหค้วามร้อนของ CDU และ VDU ลดลงเป็น 196 และ 89 ตนัต่อวนั ตามลาํดบั นอกจากการลด

    การใชพ้ลงังานแลว้ ภายหลงัการติดตั้ง Air Preheater จะทาํใหป้ระสิทธิภาพของกระบวนการเผาไหม้

    T-MON218003/SECOT 2-15 SPRC(Refinery)-T218003(2H)-Chap2.docx

  • โครงการโรงกลัน่นํา้มนั (ส่วนขยาย คร้ังท่ี 2) บทที่ 2

    บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์น่ิง จาํกัด (มหาชน) รายละเอียดโรงกลัน่นํา้มนั

    เช้ือเพลิงท่ีเตาใหค้วามร้อนท่ี CDU และ VDU เพิ่มข้ึนจากร้อยละ 83 เป็นร้อยละ 90

    (3) Residuum Fluid Catalytic Cracking Unit (RFCCU)

    RFCCU ทาํหนา้ท่ีเปล่ียนสารป้อน ซ่ึงประกอบดว้ย VHVGO จาก VDU และ

    Hydrotreated Heavy Vacuum Gas Oil (Hydrotreated HVGO) จาก HVGO-HTU ใหเ้ป็นผลิตภณัฑท่ี์มี

    มูลค่าสูงข้ึน โดยท่ีสารป้อนขา้งตน้จะผสมกบัไอนํ้าและตวัเร่งปฏิกิริยาใน Reactor ภายใตอุ้ณหภูมิ 515

    องศาเซลเซียส และความดนั 2.4 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร เพื่อใหโ้มเลกลุของสารป้อนแตกตวัเป็น

    ผลิตภณัฑเ์บา (Lighter Products) และบางส่วนเกิดเป็น Coke เกาะบนผวิของตวัเร่งปฏิกิริยา ผลิตภณัฑ์

    จากขั้นตอนน้ีเป็นของผสมระหวา่งไฮโดรคาร์บอนและตวัเร่งปฏิกิริยา ซ่ึงจะถูกส่งผา่น Cyclone เพื่อแยก

    ตวัเร่งปฏิกิริยาออกจากผลิตภณัฑ ์ความร้อนสะสมท่ีตวัเร่งปฏิกิริยาหลงัจากเกิดปฏิกิริยาจะช่วยใหเ้กิดการ

    เผาไหม ้ Coke โดยตวัเร่งปฏิกิริยาจะถูกส่งจาก Reactor ไปยงั Regenerator พร้อมกบัอากาศเพื่อเผาไหม ้

    Coke ท่ีหลงเหลืออยูท่ี่อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส ก่อนส่งกลบัไปยงั Reactor เพื่อช่วยเร่งปฏิกิริยาต่อไป

    สาํหรับตวัเร่งปฏิกิริยาท่ีใชเ้ป็นสารประกอบประเภทซิลิกาอลูมินา

    ก๊าซไอเสีย (Flue Gas) ท่ีเกิดจากการเผาไหมข้อง Coke จะถูกเผาซํ้าท่ี CO Oxidizer

    เพื่อใหม้ัน่ใจวา่ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซดท่ี์ระบายออกสู่บรรยากาศ มีค่าเป็นไปตามมาตรฐานกาํหนด โดย

    ความร้อนท่ีไดจ้ากการเผาจะนาํไปใชใ้นการผลิตไอนํ้า และ Flue Gas จะถูกปล่อยออกสู่บรรยากาศต่อไป

    2.4.2 หน่วยปรับปรุงคุณภาพ

    (1) Naphtha Hydrotreating Unit (NHTU)

    NHTU มีหนา้ท่ีกาํจดักาํมะถนัและไนโตรเจนออกจาก HSR ท่ีไดจ้าก CDU ก่อน

    ส่งไปยงัหน่วย Platformer/Continuous Catalytic Reforming (PLF/CCRU) โดย HSR ท่ีเป็นสารป้อน และ

    ก๊าซไฮโดรเจนจาก Platformer ถูกทาํใหร้้อนท่ีเตาใหค้วามร้อน ก่อนเขา้ทาํปฏิกิริยาใน Reactor ท่ีมีตวั

    เร่งปฏิกิริยา ภายใตก้ารควบคุมอุณหภูมิและความดนัท่ีเหมาะสม ประมาณ 340 องศาเซลเซียส และ 34

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ตามลาํดบั ก๊าซไฮโดรเจนจะรวมตวักบักาํมะถนัและไนโตรเจนในนํ้ามนัเกิด

    เป็นไฮโดรเจนซลัไฟดแ์ละแอมโมเนีย

    (2) Platformer Unit/Continuous Catalytic Reforming Unit (PLF/CCRU)

    หน่วยน้ีทาํหนา้ท่ีในการปรับปรุง Sweet HSR ท่ีไดจ้าก NHTU ซ่ึงมีค่าออกเทนตํ่า

    T-MON218003/SECOT 2-16 SPRC(Refinery)-T218003(2H)-Chap2.docx

  • โครงการโรงกลัน่นํา้มนั (ส่วนขยาย คร้ังท่ี 2) บทที่ 2

    บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์น่ิง จาํกัด (มหาชน) รายละเอียดโรงกลัน่นํา้มนั

    ใหก้ลายเป็น Reformate ท่ีมีค่าออกเทนสูง โดยสารป้อนถูกทาํใหร้้อนท่ีเตาใหค้วามร้อนก่อนเขา้ทาํ

    ปฏิกิริยาใน Reactor ท่ีมีตวัเร่งปฏิกิริยาท่ีมี Platinum เป็นส่วนประกอบ ภายใตก้ารควบคุมอุณหภูมิและ

    ความดนัท่ีเหมาะสม คือประมาณ 510 องศาเซลเซียส และ 6 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ตามลาํดบั

    ตวัเร่งปฏิกิริยาท่ีใชแ้ลว้จาก Reactor ส่งไปฟ้ืนฟสูภาพท่ี CCRU ก่อนนาํกลบัมาใชท่ี้ Reactor ต่อไป

    (3) Heavy Vacuum Gas Oil Hydrotreating Unit (HVGO-HTU)

    HVGO-HTU มีหนา้ท่ีในการลดปริมาณกาํมะถนัในผลิตภณัฑ ์HAGO ท่ีไดจ้าก CDU

    และ HVGO ท่ีไดจ้าก VDU จากปริมาณกาํมะถนัประมาณร้อยละ 2.9 โดยนํ้าหนกั เป็นประมาณร้อยละ

    0.5 โดยนํ้าหนกั ก่อนส่งเขา้ RFCCU ต่อไป โดยกระบวนการเร่ิมจากการส่ง HAGO และ HVGO ท่ีมี

    ปริมาณกาํมะถนัสูง และก๊าซไฮโดรเจนจาก Platformer เขา้ทาํปฏิกิริยาใน Reactor ท่ีมีตวัเร่งปฏิกิริยา

    ภายใตก้ารควบคุมอุณหภูมิประมาณ 350-400 องศาเซลเซียส และความดนั 100 กิโลกรัมต่อตาราง

    เซนติเมตร โดยไฮโดรเจนจะทาํปฏิกิริยากบักาํมะถนัในนํ้ามนัเกิดเป็นก๊าซไฮโดรเจนซลัไฟด ์

    (4) Unsaturated LPG และ Saturated LPG Sweetening Unit

    หน่วยน้ีทาํหนา้ท่ีลดปริมาณ Mercaptan ใหไ้ดต้ามขอ้กาํหนดคุณภาพท่ีตอ้งการ

    เน่ืองจาก Unsaturated LPG ท่ีไดจ้าก RFCCU และ Saturated LPG ท่ีไดจ้าก CDU และ PLF/CCRU มี

    Mercaptan ปนอยู ่ ซ่ึง Mercaptan น้ีเป็นสารประกอบกาํมะถนัท่ีทาํให ้ LPG มีกล่ินเหมน็ และมีฤทธ์ิกดั

    กร่อนโลหะ การลดปริมาณ Mercaptan ทาํไดโ้ดยใชส้ารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด ์ เพื่อทาํหนา้ท่ีจบั

    Mercaptan ใหอ้ยูใ่นสารละลาย ท่ีสภาวะการทาํงานท่ีอุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส และความดนั 22

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ี Reactor

    สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซดท่ี์ใชแ้ลว้ จะถูกนาํมาปรับสภาพท่ีหน่วยฟ้ืนฟสูภาพ

    (Caustic Regeneration) แลว้นาํกลบัมาใชง้านใหม่ ทั้งน้ีในกระบวนการเปล่ียน Mercaptan และ Caustic

    Regeneration ทาํใหเ้กิด Spent Caustic และสารไดซลัไฟด ์

    (5) Light Straight Run (LSR), Light Cracked Naphtha (LCN) และ Medium

    Cracked Naphtha (MCN) Sweetening Unit

    หน่วยน้ีมีหนา้ท่ีลดปริมาณ Mercaptan ใน LSR ท่ีไดจ้าก CDU ใน LCN และ MCN

    ท่ีไดจ้าก WCN-HTU โดยหน่วยน้ีแบ่งเป็น 3 หน่วยยอ่ย คือ LSR Sweetening Unit

    T-MON218003/SECOT 2-17 SPRC(Refinery)-T218003(2H)-Chap2.docx

  • โครงการโรงกลัน่นํา้มนั (ส่วนขยาย คร้ังท่ี 2) บทที่ 2

    บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์น่ิง จาํกัด (มหาชน) รายละเอียดโรงกลัน่นํา้มนั

    LCN Sweetening Unit และ MCN Sweetening Unit

    การลดปริมาณ Mercaptan ท่ีหน่วยน้ี เป็นการเปล่ียนโครงสร้างของ Mercaptan

    ใหเ้ป็นสารกาํมะถนัในรูปของไดซลัไฟด ์ ซ่ึงเป็นสารไม่เป็นอนัตราย ไม่กดักร่อน และไม่มีกล่ิน ทาํได้

    โดยการเติมออกซิเจนและสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซดใ์หก้บัสาร Mercaptan กระบวนการน้ีเกิดข้ึนท่ี

    Merox Reactor ท่ีอุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส และความดนั 6 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และมีการใช้

    ถ่านกมัมนัต ์ (Activated Charcoal) เป็นตวัจบัตวัเร่งปฏิกิริยาไวท่ี้ผวิ เม่ือสารป้อนท่ีผสมอากาศผา่นบน

    ตวัเร่งปฏิกิริยา จะเกิดปฏิกิริยาเติมออกซิเจนและเปล่ียน Mercaptan เป็นไดซลัไฟด ์ จากนั้นส่งไปยงั

    Caustic Settler เพื่อทาํการแยก Caustic ออกจากผลิตภณัฑ ์ โดย Caustic ท่ีแยกไดส่้วนใหญ่จะนาํไป

    ใชใ้หม่

    กระบวนการลด Mercaptan ท่ีหน่วยน้ีจะแตกต่างกบั LPG Sweetening Unit

    เพราะ Mercaptan ท่ีอยูใ่น LPG มีโมเลกลุเบา สามารถละลายในสารละลาย Caustic ไดดี้ จึงใช้

    กระบวนการ Liquid-liquid Extraction ได ้ ในขณะท่ีสาร Mercaptan ท่ีอยูใ่น LSR, LCN และ MCN

    มีโมเลกลุหนกักวา่ และละลายในสารละลาย Caustic ไดน้อ้ย

    (6) Unsaturated LPG Splitting Unit

    หน่วยน้ีทาํหนา้ท่ีในการกลัน่แยก Treated Unsaturated LPG จาก Unsaturated LPG

    Sweetening Unit ออกเป็น Mixed C3 และ Mixed C4 โดยหอ Depropanizer ท่ีอุณหภูมิ 105 องศา-

    เซลเซียส และความดนั 18.5 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ีกน้หอกลัน่

    (7) Polymer Grade Propylene Splitting Unit (PGPU)

    หน่วยน้ีทาํหนา้ท่ีกลัน่แยก Mixed C3 ท่ีไดจ้ากหน่วย Unsaturated LPG Splitting

    เป็น Polymer Grade Propylene (PGP) และโพรเพน โดยหอ Deethanizer และหอ C3 Splitter ท่ีอุณหภูมิ

    40 องศาเซลเซียส และความดนั 12.5 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ีกน้หอกลัน่

    (8) Jet Merox Unit

    หน่วย Jet Merox ทาํหนา้ท่ีผลิตนํ้ามนัอากาศยาน (Jet Fuel) จากสารป้อน คือ

    Kerosene ท่ีไดจ้าก CDU โดย Kerosene จะถูกลดอุณหภูมิท่ีเคร่ืองแลกเปล่ียนความร้อน (Heat Exchanger)

    โดยนํ้าหล่อเยน็ และแลกเปล่ียนความร้อนกบัอากาศ (Air Cooler) ก่อนเขา้สู่กระบวนการผลิต ซ่ึงมี 5

    T-MON218003/SECOT 2-18 SPRC(Refinery)-T218003(2H)-Chap2.docx

  • โครงการโรงกลัน่นํา้มนั (ส่วนขยาย คร้ังท่ี 2) บทที่ 2

    บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์น่ิง จาํกัด (มหาชน) รายละเอียดโรงกลัน่นํา้มนั

    ขั้นตอนดว้ยกนั คือ

    ขั้นตอนที ่ 1 กระบวนการใชโ้ซเดียมไฮดรอกไซด ์ เพื่อปรับลดสภาพความเป็นกรด

    ของ Kerosene จากนั้นส่งไปยงั Electrostatic Precipitator (EP) เพื่อแยกสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด ์

    ท่ีใชแ้ลว้ (Spent Caustic) จากการลดสภาพความเป็นกรดออกจาก Kerosene

    ขั้นตอนที ่ 2 กระบวนการกาํจดัสารกาํมะถนัท่ีมีฤทธ์ิกดักร่อนดว้ยกระบวนการ

    Sweetening โดย Kerosene ท่ีไดจ้ากการกลัน่จะมีสาร Mercaptan ปนเป้ือนอยู ่ จะถูกกาํจดัโดยใชอ้ากาศ

    และสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด ์ เพื่อเปล่ียน Mercaptan ใหเ้ป็นสารกาํมะถนัในรูปอ่ืน คือ รูปของ

    ไดซลัไฟด ์ กระบวนการน้ีเกิดข้ึนท่ี Merox Reactor ท่ีอุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส และความดนั 10

    กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร โดยใชถ่้านกมัมนัต ์ (Activated Charcoal) เป็นตวัจบัตวัเร่งปฏิกิริยาไวท่ี้ผวิ

    เม่ือ Kerosene ท่ีผสมอากาศผา่นบนตวัเร่งปฏิกิริยาจะเกิดปฏิกิริยาเติมออกซิเจน และเปล่ียน Mercaptan เป็น

    ไดซลัไฟด ์จากนั้นจะถูกส่งไปยงั Caustic Settler เพื่อทาํการแยก Caustic ออกจากผลิตภณัฑ ์โดย Caustic

    ท่ีแยกไดส่้วนใหญ่จะนาํไปใชใ้หม่

    ขั้นตอนที ่ 3 กระบวนการลา้งดว้ยนํ้า โดย Kerosene ท่ีผา่นขั้นตอนการเปล่ียน

    สาร Mercaptan ใหเ้ป็นสารประกอบไดซลัไฟดแ์ลว้ จะถูกลา้งดว้ยนํ้าเพื่อแยกสารเจือปนเป้ือนท่ีหลงเหลือ

    ออกไป

    ขั้นตอนที ่4 กระบวนการทาํใหแ้หง้ Kerosene ท่ีผา่นการลา้งดว้ยนํ้าแลว้ จะถูกทาํให้

    แหง้ โดยผา่นไปยงั Salt Dryer เพื่อกาํจดันํ้ าท่ีอยูใ่นผลิตภณัฑอ์อก โดยใชเ้กลือดูดซบันํ้าออก เพื่อใหแ้น่ใจ

    วา่ผลิตภณัฑท่ี์ได ้คือ นํ้ ามนัอากาศยานท่ีไม่มีนํ้ าเจือปนอยู ่

    ขั้นตอนที ่ 5 กระบวนการกาํจดัสารปนเป้ือนอ่ืนๆ โดยนํ้ามนัอากาศยานท่ีผา่นการ

    กาํจดันํ้าแลว้ นาํไปผา่น Clay Treater เพื่อกาํจดัสารปนเป้ือนอ่ืนๆ ท่ีหลงเหลืออยู ่

    (9) Mercury Removal Unit (MRU)

    MRU เป็นหน่วยกาํจดัปรอทออกจากผลิตภณัฑจ์าก CDU ไดแ้ก่ Fuel Gas, Whole

    Range Naphtha, Wild Range Naphtha และ Saturated LPG โดย MRU ถูกออกแบบเพื่อรองรับผลิตภณัฑ์

    ท่ีมีความเขม้ขน้ของปรอท ประมาณ 500 ส่วนในพนัลา้นส่วน และเม่ือผา่น MRU แลว้ ทาํใหมี้ปรอท

    เหลืออยูป่ระมาณ 1 ส่วนในพนัลา้นส่วน ในการกาํจดัปรอทของ MRU จะใช ้ Absorbent ซ่ึงบรรจุอยู่

    T-MON218003/SECOT 2-19 SPRC(Refinery)-T218003(2H)-Chap2.docx

  • โครงการโรงกลัน่นํา้มนั (ส่วนขยาย คร้ังท่ี 2) บทที่ 2

    บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์น่ิง จาํกัด (มหาชน) รายละเอียดโรงกลัน่นํา้มนั

    ภายใน Vessel เป็นสารสาํหรับดูดซึมสารปรอท ภายใตส้ภาวะอุณหภูมิและความดนัท่ีเหมาะสม ประมาณ

    41 องศาเซลเซียส และ 20 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ตามลาํดบั Absorbent ท่ีใชส้าํหรับกาํจดัปรอท

    จะถูกบรรจุไวภ้ายใน Vessel จาํนวน 2 Vessels ท่ีต่อกนัในลกัษณะอนุกรม เพื่อใหมี้ความมัน่ใจวา่ปรอท

    จะถูกดกัจบัออกจากผลิตภณัฑไ์ดห้มด

    (10) Diesel Hydrotreating Unit (DHTU)

    DHTU ทาํหนา้ท่ีในการลดปริมาณกาํมะถนัในนํ้ามนัดีเซล จากร้อยละ 0.94 โดย

    นํ้าหนกั เหลือร้อยละ 0.035 โดยนํ้าหนกั โดยสารป้อนและก๊าซไฮโดรเจนจะผา่นเตาใหค้วามร้อน ก่อนเขา้

    ทาํปฏิกิริยาใน Reactor ท่ีมีตวัเร่งปฏิกิริยา จาํนวน 2 หน่วย เช่ือมต่อกนัแบบอนุกรม เพื่อทาํงานร่วมกนั

    DHTU รับสารป้อนทั้งประเภท Hard Feed Diesel และ Easy Feed Diesel รวมกนัเขา้

    สู่ Reactor โดย Hard Feed Diesel ไดแ้ก่ HGO, LVGO, HCN และ LCGO และสารป้อนประเภท Easy

    Feed Diesel ไดแ้ก่ Kerosene, LGO และ HGO สาํหรับปริมาณสารป้อนนั้นปกติจะถูกส่งมาจาก

    หน่วยผลิตตน้ทางโดยตรงประมาณร้อยละ 90 โดยปริมาตร และจากถงัเกบ็กกัอีกร้อยละ 10 โดยปริมาตร

    สารป้อนและก๊าซไฮโดรเจนจะผา่นเตาใหค้วามร้อน ก่อนเขา้ทาํปฏิกิริยาใน Reactor

    ท่ีมีตวัเร่งปฏิกิริยา ซ่ึงมี Ni-Mo และ Co-Mo เป็นองคป์ระกอบ ภายใตก้ารควบคุมท่ีอุณหภูมิและความดนั

    สูง ประมาณ 370 องศาเซลเซียส และความดนั 66 กิโลกรัมต่อลูกบาศกเ์มตร ตามลาํดบั ไฮโดรเจน

    จะจบักบักาํมะถนัในนํ้ามนัเกิดเป็นก๊าซไฮโดรเจนซลัไฟด ์ เพื่อใหไ้ดน้ํ้ ามนัดีเซลท่ีมีกาํมะถนัไม่สูงกวา่

    ร้อยละ 0.005 โดยนํ้าหนกั

    ผลิตภณัฑท่ี์ออกจาก Reactor ถูกทาํใหเ้ยน็ลงโดยการแลกเปล่ียนความร้อนกบัสารป้อน

    และมีการเติมนํ้าเพื่อลา้งเกลือ Ammonium ท่ีเกิดข้ึน ผลิตภณัฑท่ี์ไดส่้งไปท่ี Separator เพื่อแยกก๊าซ Sour

    Water และนํ้ามนัออกจากกนั ก๊าซท่ีไดเ้รียกวา่ Recycle Gas จะถูกลดปริมาณก๊าซไฮโดรเจนซลัไฟดท่ี์หอ

    Recycle Gas Amine Contactor โดยใช ้ Amine จาก ARU No.1 จากนั้นจะส่งเขา้สู่ระบบ Recycle Gas

    Compressor ท่ีควบคุมอุณหภูมิและความดนัประมาณ 90 องศาเซลเซียส และ 73 กิโลกรัมต่อตาราง

    เซนติเมตร ตามลาํดบั และมีการเติมก๊าซไฮโดรเจน (H2 Make Up) เพื่อเพิ่มความดนัใหเ้หมาะสมกบัการ

    เกิดปฏิกิริยา โดยทาํงานภายใตอุ้ณหภูมิและความดนัประมาณ 120 องศาเซลเซียส และ 72 กิโลกรัมต่อ

    ตารางเซนติเมตร ตามลาํดบั ก่อนนาํไปเป็นสารป้อนของ Reactor ต่อไป ส่วน Sour Water ท่ีเกิดข้ึนมีก๊าซ

    T-MON218003/SECOT 2-20 SPRC(Refinery)-T218003(2H)-Chap2.docx

  • โครงการโรงกลัน่นํา้มนั (ส่วนขยาย คร้ังท่ี 2) บทที่ 2

    บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์น่ิง จาํกัด (มหาชน) รายละเอียดโรงกลัน่นํา้มนั

    ไฮโดรเจนซลัไฟด ์ และเกลือละลายอยู ่ ส่งไปยงั SWS No.1 สาํหรับนํ้ามนัท่ีไดส่้งไปท่ี Product Stripper

    เพื่อแยก Off Gas และ Unstabilized Naphtha ออกจากนํ้ามนัดีเซล ภายใตอุ้ณหภูมิและความดนั ประมาณ

    236 องศาเซลเซียส และ 7.9 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ตามลาํดบั โดย Off Gas ท่ีออกจากส่วนบนของ

    หอกลัน่จะส่งไปรวมกบั Off Gas จาก WCN-HTU และป้อนสู่ Low Pressure Amine Contactor (LP Amine

    Contactor) เพื่อลดปริมาณก๊าซไฮโดรเจนซลัไฟด ์ ก่อนส่งไปยงัระบบก๊าซเช้ือเพลิงของโรงกลัน่นํ้ ามนั

    ส่วน Unstabilized Naphtha ท่ีออกจากส่วนบนของหอกลัน่เช่นกนั จะส่งกลบัไปยงั CDU สาํหรับนํ้ามนั

    ดีเซลเป็นผลิตภณัฑจ์ากส่วนล่างของหอกลัน่จะส่งไปยงัถงัเกบ็กกัต่อไป

    (11) Whole Cracked Naphtha Hydrotreater Unit (WCN-HTU)

    WCN-HTU ทาํหนา้ท่ีลดปริมาณกาํมะถนัของ WCN ท่ีไดจ้าก RFCCU สารป้อน

    WCN พร้อมกบัก๊าซไฮโดรเจน เขา้สู่ SHU Reactor จาํนวน 2 หน่วย ท่ีต่อกนัแบบอนุกรม มีตวัเร่ง

    ปฏิกิริยาเป็น Ni-Mo ควบคุมอุณหภูมิและความดนั ประมาณ 190 องศาเซลเซียส และ 29 กิโลกรัมต่อ

    ตารางเซนติเมตร ตามลาํดบั เพื่อเปล่ียนรูปสารประกอบ Light Mercaptans และ Light Sulfides ใหเ้ป็น

    สารประกอบ Sulfur ท่ีมีขนาดใหญ่ข้ึน เช่น สารประกอบไดซลัไฟด ์หรือสารไฮโดรคาร์บอนท่ีมีโมเลกลุ

    ยาวข้ึน หรือนํ้าหนกัโมเลกุลมากข้ึน เป็นตน้ ผลิตภณัฑท่ี์ไดจ้าก SHU Reactor จะส่งต่อไปยงั SHU Splitter

    SHU Spiltter ทาํหนา้ท่ีกลัน่แยกผลิตภณัฑจ์าก SHU Reactor ใหไ้ด ้ Off Gas, LCN

    และ MCN ภายใตอุ้ณหภูมิ 193 องศาเซลเซียส และความดนั 7.6 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ท่ีกน้หอกลัน่

    โดย Off Gas ท่ีออกจากส่วนบนของหอกลัน่ จะถูกส่งไปยงัระบบก๊าซเช้ือเพลิงของโรงกลัน่นํ้ ามนั ส่วน

    LCN ออกจากส่วนกลางของหอกลัน่ เป็นผลิตภณัฑท่ี์มีปริมาณกาํมะถนัตํ่า สาํหรับ MCN ออกจาก

    ส่วนล่างของหอกลัน่ จะถูกส่งต่อไปยงั Hydrodesulfurization (HDS) Reactor ต่อไป

    HDS Reactor ทาํหนา้ท่ีลดปริมาณกาํมะถนัใน MCN โดย MCN และก๊าซไฮโดรเจน

    จะเขา้ทาํปฏิกิริยาใน Reactor ซ่ึงมีตวัเร่งปฏิกิริยาท่ีมี Ni-Mo และ Co-Mo เป็นองคป์ระกอบ ภายใตก้าร

    ควบคุมอุณหภู�