คู...

160
คูมือการประเมิน สํานักงานปองกันควบคุมโรคที10 เชียงใหม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) 2558 ในพื้นที8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน

Transcript of คู...

  • คูมือการประเมิน

    สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน

    ภายใตระบบสุขภาพอําเภอ

    (DHS/DC) ป 2558

    ในพื้นท่ี 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน

  • อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    คํานํา

    กรมควบคุมโรคไดดําเนินการพัฒนาศักยภาพในการปองกันควบคุมโรคระ ดับอําเภอและตําบลผานนโยบายอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนตั้งแตปพ.ศ.2554 การดําเนินงานมีการปรับเปลี่ยนเพ่ือใหเหมาะสมกับบริบทและสถานการณการทํางานในแตละป ในป 2557 กระทรวงสาธารณสุขไดมีการปรับโครงสรางแ ละมีนโยบายการดําเนินงาน ระบบสุขภาพอําเภอ หรือ District Health System (DHS) ซ่ึงเปนการพัฒนาระบบสุขภาพท่ีผสมผสานตั้งแตการสงเสริม ปองกัน รักษาและฟนฟู เนนการทํางานรวมกัน ของภาคีเครือขายในระดับอําเภอ โดยมีเปาหมายใหเกิดอําเภอสุขภาวะ นั่นคือ สถานะสุขภาพของประชาชนดีข้ึน ประชาชนดูแลตนเองได และทีมสุขภาพ ท่ีปฏิบัติงานรวมกันอยาง เขมแข็ง พรอมรับมือปญหาสุขภาพท่ีเปลี่ยนแปลงไป โดยมี กรอบการพัฒนาผานบันได 5 ข้ัน และให มีโครงการแกไขปญหาตามบริบทท่ีเรียกวา การดําเนินงานหนึ่งอําเภอหนึ่งประเด็นสุขภาพ (One District One Project: ODOP) เพ่ือใหการดําเนินงานอําเภอควบคุมโรคเขม แข็งแบบยั่งยืนสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาระบบสุขภาพอําเภอ กรมควบคุมโรค จึง ไดปรับกรอบแนวคิดการประเมินคุณลักษณะอําเภอจากเดิม ท่ีจะประเมินคุณลักษณะ 5 ดาน ไดแก คณะกรรมการ ระบบระบาดวิทยา การทําแผน การระดมทรัพยากร และความสําเร็จในการควบคุมโรคท่ีเปนปญหาระดับประเทศ และระดับพ้ืนท่ี ใหเหลือเพียง 2 ดาน ไดแก คุณลักษณะท่ี 2) มีระบบระบาดวิทยาท่ีดีในระดับอําเภอ และ คุณลักษณะท่ี 5) มีผลสําเร็จของการควบคุมปองกันโรคท่ีสําคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและเปนปญหาในพ้ืนท่ี โดยมีความเชื่อม่ันวาในสวนคณะกรรมการ การจัดทําแผน และก ารระดมทรัพยากรจะไดมีการพัฒนาและประเมินผานกลไกระบบสุขภาพอําเภอ (DHS) ในสวนคะแนนการประเมินของปนี้ คะแนนเต็มยังเปน 100 คะแนนเหมือนเดิม แตจะประเมินระบบระบาดวิทยาและการเตรียมพรอมรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 40 คะแนน สวนอีก 60 คะแนนเปนผลสําเร็จรายโรค/ภัยสุขภาพท่ีสําคัญ ข้ันตอนการประเมินจะใหทุกอําเภอประเมินตนเองผานอินเตอรเน็ตบนหนาเว็บสํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค หากอําเภอผานระดับ 3 ในทุกดานของเกณฑประเมิน DHS สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด จะประเมินอําเภอโดยใช เกณฑอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน จากนั้นคัดเลือกอําเภอใหสํานักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 10 ประเมินอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน เพ่ือคัดเลือกอําเภอท่ีมีการทํางานดี (Best practice) เปนตัวแทนเขตเพ่ือขยาย Best practice ใหกับพ้ืนท่ีอ่ืน

    คูมือฉบับนี้ จัดทําข้ึนสําหรับใชในการประเมินการดําเนินงานพัฒนาอําเภ อควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน กลุมเปาหมายของเอกสารฉบับนี้ คือ เจาหนาท่ีในสํานักงานปองกันควบคุมโรค ผูเก่ียวของในสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด และอําเภอในพ้ืนท่ี 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน หวังวาเนื้อหาในเอกสารจะเปนประโยชนและทําใหเจาหนาท่ีผูเก่ียวของมีความเขาใจสามารถดําเนินงานไดเปนมาตรฐานเดียวกัน

    ผูจัดทํา

    ธันวาคม 2557

  • อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    สารบัญ

    หนา

    คํานํา ก

    สารบัญ ข

    สารบัญตาราง ตัวช้ีวัดผลสําเร็จของการควบคุมโรคท่ีสําคัญ ค บทนํา 4-7

    วิธีการและข้ันตอนการประเมินอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบย่ังยืน ป 2558 8

    ประเมินตนเอง โดยคณะกรรมการฯระดับอําเภอ 8

    ประเมินยืนยันผลการประเมินตนเองของอําเภอ โดยสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด 8

    ประเมินรับรองการผานเกณฑอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน โดย สํานักงานปองกัน

    ควบคุมโรค

    8-9

    แผนผังการประเมินอําเภอฯเขมแข็ง 10

    แบบประเมินตนเอง “ระบบสุขภาพอําเภอ (DHS)” ป 2558 11-12

    แบบสรุปการประเมินตนเอง “อําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง” ป 2558 13-15

    รายละเอียดการประเมินคุณลักษณะท่ี 5 ผลสําเร็จของการควบคุมโรค 16-18

    คําอธิบายเกณฑการประเมินตนเอง “อําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง” ป 2558 19 คําอธิบายคุณลักษณะท่ี 2 19-23 ตัวอยางแผนการเตรียมความพรอมและตอบโตภาวะฉุกเฉินฯ 24-37

    รายละเอียดตัวช้ีวัดผลสําเร็จของการควบคุมโรคและภัยสุขภาพท่ีสําคัญ 38 - โรคและภัยสุขภาพท่ีสําคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข 39-63 - โรคและภัยสุขภาพท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ี 64-122

    ภาคผนวก 123 1. เอกสารแนบแบบประเมินการปฏิบัติงาน EPI 124-135 2. ภาคผนวก 1 – 3 ของ DHF 136-142 3. แบบประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลของ TB 143-144 4. เอกสารแนบทายโรคอุจจาระรวงเฉียบพลันหรือโรคอาหารเปนพิษ 145-146 5. แบบฟอรมรายงานผลการดําเนินการจัดบริการเวชศาสตรสิ่งแวดลอม(Env-Med 01,02) 147-155 6. รายงานการจัดบริการอชีวอนามัยสําหรับแรงงานชุมชน 156-158 7. ภาคผนวกของโรคอหิวาตกโรค 158-159

  • อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    สารบัญตัวช้ีวัดผลสําเร็จของการควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่สําคัญ

    โรคและภัยสุขภาพสําคัญตามนโยบาย หนา

    1. โรคหลอดเลือดสมองและเบาหวาน (โรคไมติดตอเรื้อรัง) 39-42 2. การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล 42-44 3. การปองกันอุบัติเหตุทางถนน 44-48 4. การปองกันเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ํา 48-51

    5. โรคติดตอท่ีปองกันไดดวยวัคซีน 51-56

    6. โรคไขเลือดออก 57-63

    โรคและภัยสุขภาพสําคัญที่เปนปญหาของพ้ืนที ่

    1. โรคเอดส 64-67 2. วัณโรค 68-70 3. โรคมาลาเรีย 70-74 4. โรคเทาชาง 74-77 5. โรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเปนพิษ 77-80 6. โรคหนอนพยาธิ 80-86 7. โรคพิษสุนัขบา 86-91 8. โรคเลปโตสไปโรสิส 91-95 9. โรคติดตออุบัติใหม ระบบทางเดินหายใจ รวมท้ังไขหวัดใหญ 95-99 10. โรคเรื้อน 99-104 11. โรคมือ เทา ปาก 104-107 12. การควบคุมการบริโภคยาสูบ 107-109 13. โรคจากมลพิษสิ่งแวดลอม 110-114 14. โรคจากการประกอบอาชีพ 114-119 15. โรคอหิวาตกโรค 119-122

  • 4

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    บทนํา

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบย่ังยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558 1. ความหมายของ ระบบสุขภาพอําเภอ (District Health System: DHS)

    ระบบสุขภาพอําเภอ (District Health System: DHS) เปนนโยบายการทํางานสุขภาพในระดับอําเภอของกระทรวงสาธารณสุข ท่ีใชอําเภอเปนฐานมองทุกสวนในอําเภอเ ปนเนื้อเดียวกัน ท้ังสาธารณสุข สวนราชการ องคการบริหารสวนทองถ่ิน และภาคประชาชน โดยขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผสมผสานท้ังงาน สงเสริม ปองกัน รักษา ฟนฟู โดยมีเปาหมายใหเกิด “อําเภอสุขภาวะ” คือ สถานะสุขภาพของประชาชนดีข้ึน ประชาชนดูแลตนเองได และทีมสุขภาพมีความเขมแข็ง มีการดําเนินงานผานโครงการเพ่ือจัดการ ประเด็นสุขภาพรวมระดับอําเภอ (One District One Project: ODOP) กรอบการพัฒนากําหนดเปนเกณฑบันได 5 ข้ัน ใน 6 ประเด็น (UCCARE) ดังนี้

    1.Unity Team

    ขั้นท่ี 5 ชุมชน ภาคีภาคสวนตางๆ รวมเปนทีมกับ เครือขายสุขภาพ ในทุกประเด็นสุขภาพสําคัญ ขั้นท่ี 4 fully integrateเปนโครงขายทีมเดียวกัน ท้ังแนวตั้งและแนวราบโดยมีภาคีภาคสวนรวมดวย ขั้นท่ี 3 cross functionalเปนteam ระหวางฝายคิดวางแผนและดําเนินการรวมกัน โดยมีภาคีภาคสวนรวมดวยบางสวน ขั้นท่ี 2 มีการทํางานรวมกันเปนทีมในบางประเด็น และ/หรือ มีภาคีภาคสวนรวมดวย ขั้นท่ี 1 มีแนวทางท่ีจะทํางานรวมกันและดําเนินงานตามหนาท่ีในสวนท่ีรับผิดชอบ

    2.Customer

    Focus

    ขั้นท่ี 5 ความตองการของประชาชนและผูรับบริการ ถูกนํามาบูรณาการกับระบบงานตางๆ จนทําใหประชาชน เช่ือมั่น ศรัทธา ผูกพัน และมีสวนรวมกับเครือขายบริการปฐมภูม ิ ขั้นท่ี 4 มีการเรียนรูและพัฒนาชองทางการรับรู ความตองการของประชาชนแตละกลุม ใหสอดคลอง และมีประสิทธิภาพมากข้ึน ขั้นท่ี 3 มีชองทางการรับรูและเขาใจความตองการของประชาชนและผู รับบริการ แตละกลุม ครอบคลุมประชากรสวนใหญ และนํามาแกไข ปรับปรุงระบบงาน ขั้นท่ี 2 มีชองทางในการรับรูและเขาใจ ความตองการ ของประชาชนและผูรับบริการท่ีหลากหลายอยางนอยในกลุมท่ีมีปญหาสูง ขั้นท่ี 1 มีชองทางในการรับรูและเขาใจ ความตองการของประชาชนและผูรับบริการเปนแบบ reactive

    3.Community Participation

    ขั้นท่ี 5 ชุมชน และภาคีเครือขายรวมดําเนินการอยางครบวงจร รวมท้ังการประเมินผล จนรวมเปนเจาของการดําเนินงานเครือขายบริการปฐมภูม ิ ขั้นท่ี 4 ชุมชน และภาคีเครือขายรวมคิด รวมวางแผน รวมดําเนินการดานสุขภาพ และมีการทบทวน เรียนรู ปรับปรุงกระบวนการมีสวนรวมใหเหมาะสมมากข้ึน ขั้นท่ี 3 ชุมชน และภาคีเครือขายมีสวนรวมคิด รวมดําเนินการดานสุขภาพอยางเปนระบบกับเครือขายบปฐมภูมิ และมีการขยายวงไดคอนขางครอบคลุม ขั้นท่ี 2 ดําเนินการให ชุมชน และภาคีเครือขาย รวมรับรู รวมดําเนินการดานสุขภาพ ในงานท่ีหลากหลายและขยายวงกวางเพ่ิมข้ึน ขั้นท่ี 1 มีแนวทาง หรือเริ่มใหชุมชน และภาคีเครือขายมีสวนรวมในการดําเนินงานดานสุขภาพ

    ขั้นท่ี 5 สรางวัฒนธรรมเครือขายใหบุคลากรมีความสุข ภูมิใจ รับรูคุณคาและเกิดความผูกพันในงานของเครือขายบริการปฐมภูมิ ขั้นท่ี 4 เครือขายสุขภาพมีการเรียนรู ทบทวนกระบวนการดูแล พัฒนา และสรางความผูกพันของบุคลากรใหสอดคลองกับบริบท ขั้นท่ี 3 ดําเนินการตามแนวทางหรือวิธีการดูแลพัฒนาและสรางความพึ งพอใจ และความผูกพัน(engagement) ของบุคลากรใหสอดคลองกับภารกิจท่ีจําเปนอยางเปนระบบ

  • 5

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    4.Appreciation ขั้นท่ี 2 มีการขยายการดําเนินการตามแนวทางหรือวิธีการในการดูแล พัฒนา และสรางความพึงพอใจขอบุคลากรเพ่ิมข้ึนในแตละหนวยงาน หรือในแตละระดับ ขั้นท่ี 1 มีแนวทางหรือวิธีการท่ีชัดเจน หรือเริ่มดําเนินการในการดูแล พัฒนา และสรางความพึงพอใจของบุคลากร

    5.Resources Sharing and

    Human Development

    ขั้นท่ี 5 มีการจัดการทรัพยากรรวมกันโดยยึดเปาหมายของเครือขายสุขภาพ (ไมมีกําแพงก้ัน) และมีการใชทรัพยากรจากชุมชน สงผลใหเกิดระบบสุขภาพชุมชนท่ียั่งยืน ขั้นท่ี 4 มีการทบทวนและปรับปรุงการจัดการทรัพยากร และพัฒนาบุคลากร ใหเหมาะสม และมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน ขั้นท่ี 3 มีการจัดการทรัพยากร และพัฒนาบุคลากรรวมกันอยางเปนระบบและครอบคลุม ตามบริบท และความจําเปนของพ้ืนท่ี เพ่ือสนับสนุนใหบรรลุตามเปาหมายของเครือขายสุขภาพ ขั้นท่ี 2 มีการดําเนินการรวมกัน ในการใชทรัพยากร และพัฒนาบุคลากร ในบางประเด็น หรือบางระบบ ขั้นท่ี 1 มีแนวทาง หรือเริ่มวางแผนการใชทรัพยากรรวมกัน และ พัฒนาบุคลากรรวมกัน เพ่ือสนับสนุนการะบบสุขภาพชุมชน

    6. Essential

    Care

    ขั้นท่ี 5 มีการจัดระบบดูแลสุขภาพอยางบูรณาการรวมกับประชาชน ชุมชนภาคีภาคสวนท่ีเก่ียวขอ สงผลใหประชาชนมีสถานะสุขภาพดี ขั้นท่ี 4 มีการเรียนรู ทบทวน การจัดระบบดูแลสุขภาพ และพัฒนาอยางตอเน่ือง เพ่ือใหเกิดการดูแลสุขภาพท่ีเหมาะสม สอดคลองมากข้ึน ขั้นท่ี 3 มีการจัดระบบดูแลสุขภาพตามบริบท ตามความตองการของผูรับบริการ ประชาชนแตละกลุม และชุมชนท่ีครอบคลุม ประชากรสวนใหญ ขั้นท่ี 2 มีการจัดระบบดูแลสุขภาพตามบริบท และตามความตองการของผูรับบริการ ประชาชน และชุมชนบางสวน โดยเฉพาะกลุมท่ีมีปญหาสูง ขั้นท่ี 1 มีแนวทาง หรือเริ่มดําเนินการจัดระบบดูแลสุขภาพพ้ืนฐานท่ีจําเปนในแตละกลุม ตามบริบทของชุ

    2. วัตถุประสงคการประเมินของสํานักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 1-12 a. ทราบสถานะ การดําเนินงานปองกันควบคุมโรคในระดับอําเภอ b. คนหาปจจัยแหงความสําเ ร็จและ good practice ของการดําเนินงานอําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง

    แบบยั่งยืน 3. กระบวนการประเมิน

    การประเมินการ ดําเนินงานอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน (DCCD) ในป 2558 ไดผนวกการประเมินตนเองของระบบสุขภาพอําเภอ (DHS) กับเกณฑประเมิน DCCD ดังนี้

    1. อําเภอทําการประเมินตนเ องโดยใชเกณฑระบบสุขภาพอําเภอ DHS หากพบวาตนเองผานเกณฑไดตั้งแตระดับ 3 ในทุกประเด็น (UCCARE) ให

    2. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ประเมินอําเภอดวยเกณฑอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน a. อําเภอทีผานเกณฑ DHS ตั้งแตระดับ 3 ในทุกประเด็น และจากการประเมินอําเภอควบคุม

    โรคเขมแข็งแบบยั่งยืน (DCCD) ผานเกณฑคะแนน ≥ 80% ถือวาเปนอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งท่ีสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดรับรอง

    b. อําเภอทีผานเกณฑ DHS ตั้งแตระดับ 3 ในทุกประเด็น แตจากการประเมินอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน (DCCD) ไดคะแนน นอยกวา 80% ถือวาเปนอําเภอ ท่ีตองใหการสนับสนุนและผลักดันใหระบบการเฝาระวัง ปองกันควบคุมโรคมีความเขมแข็งเพ่ิมข้ึน

  • 6

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    3. สํานักงานปองกันควบคุมโรคทําการประเมินและคัดเลือก Best practice โดยใช เกณฑ “คุณลักษณะอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ท่ีมีองคประกอบ 2 คุณลักษณะ ดังนี้ 2) มีระบบระบาดวิทยาท่ีดีในระดับอําเภอ และ 5) มีผลสําเร็จของการควบคุมปองกันโรคท่ีสําคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขและเปนปญหาในพ้ืนท่ีอยางนอย 5 เรื่องข้ึนไป

    รูปภาพประกอบความคิดในการทํางาน

    รูปที่ 1 แนวคิดการปองกันควบคุมโรค

    รูปที่ 2 ระบบเฝาระวัง ปองกันควบคุมโรคและตอบโตภาวะฉุกเฉิน

  • 7

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    รูปที่ 3 การขับเคลื่อนงานจุดเนน 5 ป กรมควบคุมโรค

    รูปที่ 4 อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนและระบบสุขภาพอําเภอ (DHS)

  • 8

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    วิธีการและข้ันตอนการประเมินอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2558

    I. ประเมินตนเองระบบสุขภาพอําเภอ (DHS) โดยคณะกรรมการฯระดับอําเภอ

    1. คณะกรรมการฯ ระดับอําเภอศึกษาเกณฑการประเมินตนเองทุกขอ 2. มอบหมายใหมีผูรับผิดชอบ ติดตามเอกสารขอมูลการดําเนินงานของอําเภอ วามีคุณลักษณะตามเกณฑท่ี

    กําหนดในแตละขอ 3. มอบหมายใหมีผูทําการปร ะเมินตนเองโดยใชเกณฑ ระบบสุขภาพอําเภอ (DHS) 6 ประเด็น 5 ข้ัน

    โดยระบุบริการ essential care ผานอินเตอรเน็ตบนหนาเว็ บสํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค www.kmddc.go.th สามารถดําเนินการประเมินตนเองไดตั้งแตวันท่ี 1 ธันวาคม 2557 เปนตนไป (รอบท่ี 1 ส้ินสุด 25 ม.ค.58, รอบท่ี 2 ส้ินสุด 25 มิ.ย.58)

    4. วิเคราะหสาเหตุและคนหาแนวทางในการพัฒนาตนเอง ในเกณฑขอท่ีอําเภอไมสามารถดําเนินการได 5. หากผลการประเมินตนเอง DHS ของอําเภออยูตั้งแตข้ัน 3 ใหแจงสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเพ่ือ

    ดําเนินการประเมินโดยใชกรอบแนวคิดอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนตอไป

    6. รอรับการประเมินยืนยันอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนจากทางสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดและการประเมินรับรองอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งผานเกณฑป 2558 จากสํานักงานปองกันควบคุมโรค

    II. ประเมินยืนยันผลการประเมินตนเองของอําเภอ โดยสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

    1. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ควรมอบหมายใหมีคณะทํางานสนับสนุน “อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน” โดยมีหนาท่ีความรับผิดชอบ 2 เรื่องหลักไดแก 1) ตรวจสอบยืนยันผลการประเมินตนเองของอําเภอตามเกณฑท่ีกรมควบคุมโรคกําหนด แ ละ 2) สนับสนุนใหอําเภอตางๆสามารถดําเนินงานไดตามเกณฑท่ีกําหนดในทุกขอ

    2. ผูรับผิดชอบในสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ดําเนินการประเมินอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน โดยใชเกณฑคุณลักษณะ ท่ีกรมควบคุมโรคกําหนดผานอินเตอรเน็ตบนหนาเว็บไซด สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค www.kmddc.go.th ตั้งแตวันท่ี 25 ธันวาคม 2557 เปนตนไป (รอบท่ี 1 เริ่มตั้งแต 25 ธ.ค. 57 ถึง 25 ม.ค.58, รอบท่ี 2 เริ่มตั้งแต 1 เม.ย. 58 ถึง 25 มิ.ย.58) และดําเนินงานตามหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมาย

    3. เม่ือสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดไดดําเนินการประเมินยืนยันผลการประเมินอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนของระดับอําเภอ และเห็นวาอําเภอท่ีผานเกณฑอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งได (≥รอยละ 80) พรอมท่ีจะรับการประเมินรับรองจากสํานักงานปองกันควบคุมโรค ใหแจงไปยงัสํานักงานปองกันควบคุมโรค เพ่ือรอรับการประเมิน

    III. ประเมินรับรองการผานเกณฑอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบย่ังยืน 2558 โดยสํานักงานปองกันควบคุมโรค

    1. สํานักงานปองกันควบคุมโรคจัดเตรียมทีมประเมินรับรองการผานเกณฑอําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง แบบยั่งยืน ใหมีการศึกษาวัตถุประสงคและวิธีการ วัดของเกณฑแตละขอใหเขาใจและสามารถนําไปใชประเมินเม่ือไดรับการรองขอได

    http://www.kmddc.go.th/http://www.kmddc.go.th/

  • 9

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    2. ซักซอมกับจังหวัดอําเภอและพ้ืนท่ี กอนออกดําเนินการประเมิน โดยตรวจสอบความพรอมผูรับประเมิน ดังนี้ • ระดับจังหวัด ไดแกผูรับผิดชอบงานแผนงาน งานระบาดวิทยา งานควบคุมโรค • ระดับอําเภอ ไดแกคณะกรรมการควบคุมโรคอําเภอ หรือสํานักงานสาธารณสุขอําเภอ / โรงพยาบาล

    - ประธาน เลขาฯ กรรมการ : ผูแทนอปท . ผูแทนประชาชน สาธารณสุขอําเภอ ผูอํานวยการโรงพยาบาล ผูดูแลระบบการเฝาระวังปองกันควบคุมโรค ผูดูแลจัดทําแผนงานโครงการ

    • ระดับตําบล ไดแก โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล(ผูอํานวยการหรือนักวิชาการ ) องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

    • ระดับชุมชน ไดแก อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน 3. ดําเนินการประเมินอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนระดับดี โดยใชกรอบแนวคิดคุณลักษณะ

    ตามท่ีกรมควบคุมโรคกําหนด เพ่ือคัดเลือกอําเภอท่ีมีผลงานดีเยี่ยมเปนตัวแทนเขต สคร. 4. เม่ือดําเนินการประเมินรับรองเสร็จสิ้นในแตละอําเภอ ควรมีการสรุปผลการประเมินและใหขอเสนอแนะใน

    การดําเนินงานแกอําเภอท่ีเปนเอกสารทุกครั้ง 5. ทําการสรุปผลการประเมินรับรองใหกับนายแพทยสาธารณสุขจังหวัด ผูตรวจราชการ และกรมฯ ทราบตาม

    กําหนดเวลา

  • 10

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    พัฒนา

    คัดเลือก

    มอบรางวัล ถอดบทเรียน

    การประเมินตนเองDHS/DC ออนไลน Key in ผานเว็บไซดสํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค www.kmddc.go.th

    ประเมินยืนยันโดยใชแบบประเมิน อําเภอเขมแข็ง

    (assessment online)

    ประเมินตนเองโดยใชแบบประเมิน DHS (self assessment online)

    แผนผังระบบการประเมินตนเองอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบย่ังยืน ภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ปงบประมาณ 2558

    เครื่องมือการประเมิน

    1. แบบประเมินระบบสุขภาพอําเภอ (DHS) ของกระทรวงสาธารณสุข 2. แบบประเมินอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืน ป 2558 กรมควบคุมโรค

    รายงาน

    รายงาน

    รายงานผลประเมินตนเอง

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง

    จังหวัด

    สคร.

    กรมควบคุมโรค

    ประเมินรับรอง

    ผานเกณฑ (คะแนน ≥ 80%)

    พ้ืนฐาน

    ดีเยี่ยม ดี

    อําเภอ

    ≥ ข้ันท่ี 3 < ข้ันท่ี 3

    ไมผานเกณฑ (คะแนน < 80%)

    ผานเกณฑ (คะแนน ≥ 80%)

    ด ี

    รายงาน

    เกณฑอําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบย่ังยืน พัฒนา = DHS ต่ํากวาข้ันท่ี 3 พ้ืนฐาน= DHS อยางนอยข้ันท่ี 3 ดี = พ้ืนฐาน + DCCD ผานเกณฑ ≥ 80% ดีเย่ียม = ดี + อําเภอท่ีไดรับรางวัลระดับเขต

    ไมผานเกณฑ (คะแนน < 80%)

    http://www.kmddc.go.th/

  • 11

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    แบบประเมินระบบสุขภาพอําเภอ (District Health System) 2558

    ข้ัน หัวขอการประเมิน เกณฑ

    มี ไมมี

    1. Unity Team (U) 1 มีแนวทางท่ีจะทํางานรวมกันและดําเนินงานตามหนาท่ีในสวนท่ีรับผิดชอบ

    2 มีการทํางานรวมกันเปนทีมในบางประเด็น และ/หรือ มีภาคีภาคสวนรวมดวย 3 cross functionalเปนteam ระหวางฝายคิดวางแผนและดําเนินการรวมกัน โดยมี ภาคีภาคสวน

    รวมดวยบางสวน

    4 fully integrateเปนโครงขายทีมเดียวกัน ท้ังแนวตั้งและแนวราบ โดยมีภาคีภาคสวนรวมดวย

    5 ชุมชน ภาคีภาคสวนตางๆ รวมเปนทีมกับ เครือขายสุขภาพ ในทุกประเด็นสุขภาพสําคัญ 2. Customer Focus (C)

    1 มีชองทางในการรับรูและเขาใจ ความตองการของประชาชนและผูรับบริการเปนแบบ reactive 2 มีชองทางในการรับรู และเขาใจ ความตองการ ของประชาชนและผูรับบริการ ท่ีหลากหลายอยาง

    นอยในกลุมท่ีมีปญหาสูง

    3 มีชองทางการรับรูและเขาใจความตองการของประชาชนและผูรับบริการ แตละกลุม ครอบคลุมประชากรสวนใหญ และนํามาแกไข ปรับปรุงระบบงาน

    4 มีการเรียนรูและพัฒนาชอง ทางการรับรู ความตองการของประชาชนแตละกลุม ให สอดคลอง และมีประสิทธิภาพมากข้ึน

    5 ความตองการ ของประชาชนและผูรับบริการ ถูกนํามาบูรณาการกับระบบงาน ตางๆ จนทําใหประชาชน เชื่อม่ัน ศรัทธา ผูกพัน และมีสวนรวมกับเครือขายบริการปฐมภูมิ

    3. Community Participation (C) 1 มีแนวทาง หรือเริ่มใหชุมชน และภาคีเครือขายมีสวนรวมในการดําเนินงานดานสุขภาพ

    2 ดําเนินการใหชุมชน และภาคีเครือขาย รวมรับรู รวมดําเนินการดานสุขภาพ ในงานท่ีหลากหลายและขยายวงกวางเพ่ิมข้ึน

    3 ชุมชน และภาคีเครือขายมีสวนรวมคิด รวมดําเนินการดานสุขภาพอยางเปนระบบกับเครือขายบริการปฐมภูมิ และมีการขยายวงไดคอนขางครอบคลุม

    4 ชุมชน และภาคีเครือขายรวมคิด รวมวางแผน รวมดําเนินการดานสุขภาพ และมีการ ทบทวน เรียนรู ปรับปรุงกระบวนการมีสวนรวมใหเหมาะสมมากข้ึน

    5 ชุมชน และภาคี เครือขาย รวมดําเนินการอยางครบวงจร รวมท้ังการประเมินผล จน รวมเปนเจาของการดําเนินงานเครือขายบริการปฐมภูมิ

    4. Appreciation (A) 1 มีแนวทางหรือวิธีการท่ีชัดเจน หรือ เริ่มดําเนินการในการ ดูแล พัฒนา และสรางความพึงพอใจ

    ของบุคลากร

  • 12

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    ข้ัน หัวขอการประเมิน เกณฑ

    มี ไมมี 2 มีการขยายการดําเนินการตามแนวทางหรือวิธีการในการดูแล พัฒนา และสรางความพึงพอใจของ

    บุคลากรเพ่ิมข้ึนในแตละหนวยงาน หรือในแตละระดับ

    3 มีดําเนินการตามแนวทางหรือวิธีการดูแลพัฒนาและสรางความพึงพอใจ และความผูกพัน(engagement) ของบุคลากรใหสอดคลองกับภารกิจท่ีจําเปนอยางเปนระบบ

    4 เครือขายสุขภาพมีการเรียนรู ทบทวนกระบวนการ ดูแล พัฒนา และสรางความผูกพันของบุคลากรใหสอดคลองกับบริบท

    5 สรางวัฒนธรรมเครือขายใหบุคลากรมีความสุข ภูมิใจ รับรูคุณคาและเกิดความผูกพัน ในงานของเครือขายบริการปฐมภูมิ

    5. Resources Sharing and Human Development (R) 1 มีแนวทาง หรือเริ่มวางแผนการใชทรัพยากรรวมกัน และ พัฒนาบุคลากรรวมกัน เพ่ือสนับสนุนการ

    พัฒนาระบบสุขภาพชุมชน

    2 มีการดําเนินการรวมกัน ในการใชทรัพยากร และพัฒนาบุคลากร ในบางประเด็น หรือบางระบบ 3 มีการจัดการทรัพยากร และพัฒน าบุคลากร รวมกันอยางเปนระบบและครอบคลุม ตามบริบท

    และความจําเปนของพ้ืนท่ี เพ่ือสนับสนุนใหบรรลุตามเปาหมายของเครือขายสุขภาพ

    4 มีการ ทบทวนและปรับปรุงการจัดการทรัพยากร และพัฒนาบุคลากร ใหเหมาะสม และมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน

    5 มีการจัดการทรัพยากรรวมกันโดยยึดเปาหมายของเครือขายสุขภาพ (ไมมีกําแพงก้ัน ) และมีการใชทรัพยากรจากชุมชน สงผลใหเกิดระบบสุขภาพชุมชนท่ียั่งยืน

    6.Essential Care (E)

    1 มีแนวทาง หรือเริ่มดําเนินการจัดระบบดูแลสุขภาพพ้ืนฐานท่ีจําเปนในแตละกลุม ตามบริบทของชุมชน 2 มีการจัดระบ บดูแลสุขภาพตามบริบท และตามความตองการของผูรับบริการ ประชาชน และ

    ชุมชนบางสวน โดยเฉพาะกลุมท่ีมีปญหาสูง

    3 มีการจัดระบบดูแลสุขภาพตามบริบท ตามความตองการของผูรับบริการ ประชาชนแตละกลุม และชุมชนท่ีครอบคลุม ประชากรสวนใหญ

    4 มีการเรียนรู ทบทวน กา รจัดระบบดูแลสุขภาพ และ พัฒนาอยางตอเนื่อง เพ่ือใหเกิดการดูแลสุขภาพท่ีเหมาะสม สอดคลองมากข้ึน

    5 มีการจัดระบบดูแลสุขภาพอยางบูรณาการรวมกับประชาชน ชุมชนภาคีภาคสวนท่ีเก่ียวของ สงผลใหประชาชนมีสถานะสุขภาพดี

    ช่ือโครงการของอําเภอที่ดําเนินการในป 2558 (ODOP) …………………………………………………………………………………………………………………

  • 13

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    สําหรับผลสําเร็จของการควบคุมโรค หากอําเภอดําเนิน การควบคุมโรค /ภัยตามนโยบายมากกวา 2 เรื่อง ใหกําหนดวาเรื่องใดจะใชเปน โรค/ภัยท่ีเปนปญหาของพ้ืนท่ี จากนั้นใหอําเภอทําการประเมินโดยใชเกณฑคะแนน 15 คะแนน แลวจึงปรับคะแนนท่ีไดใหเปนคะแนนเต็ม 10 คะแนน โดยใชสูตร

    คะแนนท่ีไดจริง = คะแนนท่ีประเมินตามเกณฑโรค/ภัยตามนโยบาย (15 คะแนน) X 10 15

    แบบสรุปการประเมิน “อําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง” ป 2558

    คุณลักษณะ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได 1. มีระบบระบาดวิทยาท่ีดีในระดับอําเภอ 40 .................... 2. มีผลสําเร็จของการควบคุมปองกันโรคท่ีสําคัญตามนโยบายกระทรวง

    สาธารณสุข 2 เรื่อง และโรค/ภัยสุขภาพท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ี 3 เรื่อง 60

    ....................

    2.1 โรคตามนโยบาย

    2.1.1 ………………………………………… 15

    2.1.2 ………………………………………… 15

    2.2 โรค/ภัยสุขภาพท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ี

    2.2.1 ………………………………………… 10

    2.2.2 ………………………………………… 10

    2.2.3 ………………………………………… 10

    รวม 100 ....................

    คุณลักษณะท่ี 2 มีระบบระบาดวิทยาท่ีดีในระดับอําเภอ คะแนนเต็ม คะแนนท่ีได

    หมายเหตุ 40 ………

    ประเด็นการประเมิน 2

    ทีม SRRT อําเภอผานการประเมินรับรองมาตรฐานจากสํานักงานปองกันควบคุมโรค 6

    ………

    2.1.1 ทีม SRRT ระดับอําเภอ ผานการประเมินรับรองมาตรฐาน SRRT โดย สคร.

    • ไมผาน 0 ……… • ระดับพ้ืนฐาน 4 ……… • ระดับด ี 5 ……… • ระดับดีเยี่ยม 6 ……… 2

    ทีม SRRT อําเภอ มีการสอบสวนและควบคุมโรค/ภัย ท่ีมีคุณภาพ 6

    ………

  • 14

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    คุณลักษณะท่ี 2 มีระบบระบาดวิทยาท่ีดีในระดับอําเภอ คะแนนเต็ม คะแนนท่ีได

    หมายเหตุ 40 ………

    ประเด็นการประเมิน 2.2.1 ทีม SRRT อําเภอ มคีวามครบถวนของการสอบสวนโรค 4 ……… 2.2.2 ทีม SRRT อําเภอ มกีารสอบสวนและควบคุมโรคท่ีมีคุณภาพ 2 ……… 2

    ทีม SRRT ระดับอําเภอ มีระบบการเฝาระวังผูปวยท่ีมีคุณภาพ 5

    ………

    2.3.1 รพศ./รพท. รพช. รพสต. มคีวามสม่ําเสมอของการรายงานระบบ เฝาระวังผูปวย

    2 ………

    2.3.2 การรายงานมีความครอบคลุมทุก รพศ./รพท. รพช. รพสต. 2 ……… 2.3.3 ขอมูลจาก รพช. รพศ./รพท. มีความเปนตัวแทนได 1 ……… 2

    ทีม SRRT ระดับอําเภอ มีการซอมแผนตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข 5

    ………

    2

    ทีม SRRT เครือขายระดับตําบล ผานการประเมินรับรองมาตรฐาน SRRT จากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด และมีการเฝาระวังเหตุการณท่ีมีคุณภาพ 8

    ………

    2.5.1 ทีม SRRT เครือขายระดับตําบลผานการประเมินรับรองมาตรฐาน 5 ……… 2.5.2 ทีม SRRT เครือขายระดับตําบลมีการเฝาระวังเหตุการณท่ีมีคุณภาพ 3 ……… 2.5.2.1 รับแจงขาว 1 ………

    2.5.2.2 การตรวจสอบขาว 1 ………

    2.5.2.3 การตอบสนองเหตุการณ 1 ………

    2

    มีระบบขอมูลการเฝาระวังโรคและภัยสุขภาพ 10

    ………

    2.6.1 โรคติดตอ 2 ……… 2.6.2 โรคไมติดตอเรื้อรัง 3 ……… 2.6.3 โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอม 2 ……… 2.6.4 การบาดเจ็บ 2 ………

    2.6.5 การสํารวจปจจัยเสี่ยง/พฤติกรรมเสี่ยง 1 ………

  • 15

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    คุณลักษณะท่ี 5 มีผลสําเร็จของการควบคุมโรคท่ีสําคัญตามนโยบายกระทรวง สาธารณสุข 2 เรื่องและโรค/ภัยสุขภาพท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ี 3 เรื่อง

    คะแนนเต็ม

    60

    ประเด็นการประเมิน คะแนน 5.1 โรคตามนโยบาย .......................................................... 15

    ตัวช้ีวัดท่ี 1 :..................................................................... ตัวช้ีวัดท่ี 2 :......................................................................

    5.2 โรคตามนโยบาย .......................................................... 15

    ตัวช้ีวัดท่ี 1 :.............................................................. ตัวช้ีวัดท่ี 2 :.................................................................

    5.3 โรค/ภัยสุขภาพท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ี .......................................................... 10

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: :.............................................................. ตัวช้ีวัดท่ี 2 :..............................................................

    5.4 โรค/ภัยสุขภาพท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ี .......................................................... 10

    ตัวช้ีวัดท่ี 1 :.............................................................. ตัวช้ีวัดท่ี 2 :.................................................................

    5.5 โรค/ภัยสุขภาพท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ี .......................................................... 10

    ตัวช้ีวัดท่ี 1 :.............................................................. ตัวช้ีวัดท่ี 2 :.................................................................

  • 16

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    รายละเอียดการประเมินคุณลักษณะที่ 5 ผลสําเร็จของการควบคุมโรค 5.1 โรคตามนโยบาย

    โรคตามนโยบาย ช่ือตัวช้ีวัด คะแนน

    1) โรคหลอดเลือดสมองและเบาหวาน (โรคไมติดตอเรื้อรัง)

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: ความสําเร็จในการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคไมติดตอเรื้อรังในระดับอําเภอ

    15

    2) การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: มีการดําเนินการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล ตามกฎหมายในระดับพ้ืนท่ี

    8

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: มีการใชมาตรการชุมชนในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลในระดับพ้ืนท่ี

    7

    3) การปองกันอุบัติเหตุทางถนน

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: มีการดําเนินงานการงานเฝาระวังการบาดเจ็บและสอบสวนสาเหตุการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน

    15

    4) การปองกันเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ํา

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: มีการดําเนินงานปองกันเด็กจมน้ําไดตามท่ีกําหนด 12 ตัวช้ีวัดท่ี 2: มีเด็กอายุต่ํากวา 15 ปจมน้ําเสียชีวิตนอยกวาปท่ีผานมา หรือไมมีเด็กอายุต่ํากวา 15 ปจมน้ําเสียชีวิต

    3

    5) โรคติดตอท่ีปองกันไดดวยวัคซีน

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: ผลการประเมินมาตรฐานการดําเนินงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของหนวยบริการในระดับอําเภอผานเกณฑท่ีกําหนด

    10

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: ไมมีผูปวยโปลิโอ ไมมีผูปวยคอตีบหรือมีผูปวยลดลงตามเกณฑ อัตราปวยดวยโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด ไมเกิน 1 : 1000 เด็กเกิดมีชีพ

    5

    6) โรคไขเลือดออก ตัวช้ีวัดท่ี 1: อําเภอมีการติดตามประเมินผลการ ดําเนินงาน การปองกันควบคุมโรคไขเลือดออกตามแนวทางการจัดการพาหะนําโรคแบบผสมผสานของระดับตําบล

    5

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: อัตราปวยดวยโรคไขเลือดออกลดลง 5 ตัวช้ีวัดท่ี 3: อัตราปวยดวยโรคไขเลือดออกในกลุมวัยเรียนลดลง 5

  • 17

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    5.2 โรคท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ี

    โรคท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ี ช่ือตัวช้ีวัด คะแนน

    1) โรคเอดส

    ตัวช้ีวัดท่ี 1 : องคกรปกครองสวนทองถ่ินสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการดําเนินงานปองกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดตอทางเพศสัมพันธ

    5

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: อัตราปวยดวยโรคติดตอทางเพศสัมพันธ 5

    2) วัณโรคปอด ตัวช้ีวัดท่ี 1: รอยละของ “โรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค QTB” 10 3) โรคมาลาเรีย

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: อัตราความครอบคลุมของการมีมุงชุบสารเคมี 2 คนตอมุง 1 หลังในหมูบานท่ีมีการแพรเชื้อมาลาเรีย (A1/A2)

    4

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: อัตราปวยมาลาเรียตอพันประชากร (Annual parasite incidence rate per 1000 population ) ลดลงเม่ือเปรียบเทียบกับปท่ีผานมาอยางนอยรอยละ 5

    3

    ตัวช้ีวัดท่ี 3: รอยละของผูปวยมาลาเรียไดรับการสอบสวนโรคการติดเชื้อในพ้ืน 3

    4) โรคเทาชาง

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: ความครอบคลุมกลุมเปาหมายท่ีไดรับการจายยารักษากลุม (Mass Drug Administration : MDA) มากกวารอยละ 80

    5

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: ความครอบคลุมในการดูแลและ /หรือรักษาผูปวย โรคเทาชางในพ้ืนท่ีทุกราย

    5

    5) โรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน /อาหารเปนพิษ

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: มีการดําเนินงานเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเปนพิษ ไดตามเกณฑท่ีกําหนด

    7

    ตัวช้ีวัดท่ี 2 : อัตราปวยโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเปนพิษในระดับอําเภอนอยกวาคามัธยฐาน 5 ป ยอนหลัง

    3

    6) โรคหนอนพยาธิ

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: การดําเนินงานการปองกันโรคหนอนพยาธิตามท่ีกําหนดในอําเภอท่ีมีความชุกหรืออัตราการตรวจพบของโรคสูงกวา รอยละ 10

    6

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: อัตราการตรวจพบหรืออัตราความชุกของโรคพยาธิใบไมตับ หรือพยาธิปากขอ นอยกวารอยละ 10

    4

    7) โรคพิษสุนัขบา ตัวช้ีวัดท่ี 1: อําเภอมีการดําเนินการสรางพ้ืนท่ีปลอดโรคพิษสุนัขบา ในระดับ อบต.และเทศบาล

    8

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: ไมมีผูท่ีเสียชีวิตดวยโรคพิษสุนัขบา 2

    8) โรคเลปโตสไปโรสิส ตัวช้ีวัดท่ี 1: การสรางเครือขายดวยกระบวนการมีสวนรวมปองกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส ในระดับ อบต./เทศบาล

    8

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: ลดอัตราปวยตายดวยโรคเลปโตสไปโรสิสใหนอยกวาคามัธยฐาน 5 ปยอนหลัง

    2

    9) โรคติดตออุบัติใหม ระบบทางเดินหายใจ รวมท้ังไขหวัดใหญ

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: มีการดําเนินงานเฝาระวังปองกันควบคุมโรคติดตออุบัติใหมระบบทางเดินหายใจ รวมท้ังไขหวัดใหญดานความรวมมือพหุภาคี ระดับอําเภอ

    5

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: มีการดําเนินงานเฝาระวังปองกันควบคุมโรคติดตออุบัติใหมระบบทางเดินหายใจ รวมท้ังไขหวัดใหญ ดานการแพทยและสาธารณสุข

    5

  • 18

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    โรคท่ีเปนปญหาในพ้ืนท่ี ช่ือตัวช้ีวัด คะแนน

    10) โรคเรื้อน

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: อัตราความพิการระดับ 2 ในผูปวยโรคเรื้อนรายใหมตอแสนประชากร ในป พ.ศ. 2557 ของอําเภอลดลงมากกวาหรือเทากับรอยละ 45 เม่ือเทียบกับป พ.ศ. 2553

    5

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: การประเมินผลกระบวนการคนหาผูปวยโรคเรื้อนรายใหม 5

    11) โรคมือ เทา ปาก ตัวช้ีวัดท่ี 1: การดําเนินงานปองกันควบคุมโรคมือ เทา ปาก ในศูนยเด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล

    5

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: อัตราปวยโรคมือ เทา ปากในเด็กอายุต่ํากวา 5 ป ระดับอําเภอ ต่ํากวาคามัธยฐาน ยอนหลัง 5 ป

    5

    12) การควบคุมการบริโภคยาสูบ

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: การดําเนินการควบคุมยาสูบในพ้ืนท่ีแบบมีสวนรวมของชุมชน 10

    13) โรคจากมลพิษส่ิงแวดลอม

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: หนวยบริการสุขภาพ ในอําเภอ มีการจัดบริการเวช กรรมสิ่งแวดลอม

    5

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: หนวยบริการสุขภาพ ในอําเภอ มีการจัดกิจกรรม /สนับสนุน /ผลักดัน ใหประชาชนมีสวนรวมในการปองกันและแกไขปญหาโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดลอม

    5

    14) โรคจากการประกอบอาชีพ

    ตัวช้ีวัดท่ี 1: หนวยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ในพ้ืนท่ีสามารถจัดบริการอาชีวอนามัย (คลินิกสุขภาพเกษตรกร ) ใหแรงงานในชุมชน ไดตามแนวทางท่ีกรมควบคุมโรคกําหนด

    5

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: มีการดําเนินงานเฝาระวังปองกันควบคุมโรคและภัยสุ ขภาพจากการประกอบอาชีพใหแรงงานในชุมชน

    5

    15) โรคอหิวาตกโรค ตัวช้ีวัดท่ี 1: มีการดําเนินงานเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคอหิวาตกโรคไดตามเกณฑท่ีกําหนด

    7

    ตัวช้ีวัดท่ี 2: อัตราปวยโรคอหิวาตกโรค ในระดับอําเภอนอยกวาคามัธยฐาน 5 ป ยอนหลัง

    3

  • 19

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    คําอธิบายเกณฑการประเมินตนเอง “อําเภอควบคุมโรคเขมแข็ง” ป 2558 คุณลักษณะท่ี 2 มีระบบระบาดวิทยาท่ีดีในระดับอําเภอ

    ประเด็นการประเมิน คะแนน คําอธิบาย เอกสารหลักฐาน

    2. ระบบระบาดวิทยาท่ีดีในระดับอําเภอและเครือขายระดับตําบล

    40

    2.1 ทีม SRRT ระดับอําเภอ ผานการประเมินรับรองมาตรฐาน SRRT โดย สคร.

    6 อําเภอตองผานการประเมินมาตรฐาน SRRT โดยสคร. เกณฑการใหคะแนน ผลการประเมิน (อายุการรับรอง 3 ป)

    - ผานระดับดีเยี่ยม = 6 คะแนน - ผานระดับดี = 5 คะแนน - ผานระดับพ้ืนฐาน = 4 คะแนน - ไมผาน = 0 คะแนน

    ผลการประเมินรับรองมาตรฐาน SRRT จาก สคร.

    2.2 ทีม SRRT อําเภอ มีการสอบสวนโรค/ภัย ท่ีมีคุณภาพ

    6 ทีม SRRT อําเภอ ม ี1. ความครบถวนของการสอบสวนโรค

    (คูมือมาตรฐาน SRRT ฉบับ 2555 หนา 96-102)

    เกณฑการใหคะแนน - รอยละ 80 ข้ึนไป = 4 คะแนน - รอยละ 70-79 = 3 คะแนน - รอยละ 60-69 = 2 คะแนน - รอยละ 50-59 = 1 คะแนน - นอยกวารอยละ 50 = 0 คะแนน

    2. การสอบสวนและควบคุมโรค (ตามขอ 1) ท่ีมีคุณภาพคือไดผลตามขอ ก และ ขออ่ืนอีก 1 ขอ (คูมือมาตรฐาน SRRT ฉบับป 2555) ก. ควบคุมโรคสงบไมเกิน generation ท่ี 2 ข. หาสาเหตุหรือยืนยันไดดวยผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ หรือสรุปสาเหตุไดจากการเช่ือมโยงทางระบาดวิทยา ค. สามารถหาแหลงโรค หรือ รังโรค หรือท่ีมาการระบาดได ง. อธิบายการถายทอดโรคได

    เกณฑการใหคะแนน - จํานวน 2 เรื่องข้ึนไป = 2 คะแนน - จํานวน 1 เรื่อง = 1 คะแนน

    ไมมีคุณภาพ = 0 คะแนน

    - ทะเบียนรับแจงขาว - ฐานขอมูลการเฝา ระวังผูปวย (รง.506) - รายงานการสอบสวนโรค/ภัย 12 เดือนยอน หลังจากวันท่ีประเมิน

  • 20

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    ประเด็นการประเมิน คะแนน คําอธิบาย เอกสารหลักฐาน

    2.3 ทีม SRRT ระดับอําเภอ มีระบบการเฝาระวังผูปวยท่ีมีคุณภาพ

    ตัวอยางขอยอยท่ี 1. ความสม่ําเสมอ

    สถานรักษา

    สัปดาหที่รักษา 1 2 3 4 5 6 7 8 9

    รพช. ก 30 3 12 9 4 15 7 0 9

    รพ.สต.1 3 1 0 0 4 1 0 2 1

    รพ.สต.2 1 4 3 2 3 5 1 2 1

    รพ.สต.3 2 3 1 0 0 2 6 2 0

    รพ.สต.4 0 5 2 1 2 0 3 0 1

    รวมผาน คิดเปนiรอยละที่ผาน 3/5 = รอยละ 60 สรุป ไดคะแนน = 0 คะแนน

    ตัวอยางขอยอยท่ี 2. ความครอบคลุม

    สถานรักษา จํานวนผูปวย (ราย) (ต้ังแตม.ค.-วันที่ประเมิน)

    ผาน

    รพ. ก 1,036 รพ.สต.1 23 รพ.สต.2 17 รพ.สต.3 2 รพ.สต.4 0 รพ.สต.5 20 รพ.สต.6 12 รพ.สต.7 5 รพ.สต.8 31 สรุป มีสถานรักษาท่ีรายงาน =8/9*100=88.89%คะแนนท่ีได = 1 คะแนน

    5 1. รพศ./รพท. รพช. รพสต. มีความสม่ําเสมอของการรายงานระบบเฝาระวังผูปวย (ใชขอมูล 3 เดือนยอนหลัง)

    เกณฑการใหคะแนน - รพช. รพศ. รพท. มีรายงานทุกสัปดาห

    และ รพ.สต. มีรายงานสม่ําเสมอ แตอาจไมมีการรายงานในบางสัปดาห กรณีไมมีผูปวยท่ีตองรายงาน ใหเวนไมเกิน 2 สัปดาหติดตอกัน (รอยละ 100) = 2 คะแนน

    - รพช. รพศ. รพท. มีรายงานทุกสัปดาห และ รพ.สต. มีรายงานสม่ําเสมอ แตอาจไมมีการรายงานในบางสัปดาห กรณีไมมีผูปวยท่ีตองรายงาน ใหเวนไมเกิน 2 สัปดาหติดตอกัน (รอยละ 80-99) = 1 คะแนน

    - รพช. รพศ. รพท. มีรายงานทุกสัปดาห และ รพ.สต. มีรายงานสม่ําเสมอ แตอาจไมมีการรายงานในบางสัปดาห กรณีไมมีผูปวยท่ีตองรายงาน ใหเวนไมเกิน 2 สัปดาหติดตอกัน (ต่ํากวารอยละ 80) = 0 คะแนน 2. การรายงานมีความครอบคลุมทุก รพศ./

    รพท. รพช. รพสต. (ใชขอมูลยอนหลัง ตั้งแตเดือนมกราคมของป ท่ีประเมินถึงวันท่ีประเมิน)

    เกณฑการใหคะแนน - ครบทุกหนวยงาน = 2 คะแนน - รอยละ 80-99 ของหนวยงาน = 1

    คะแนน ต่ํากวารอยละ 80 ของหนวยงาน = 0

    คะแนน

    ฐานขอมูล รง. 506 จาก สํานักระบาดวิทยา ซ่ึงมีการกรอง และตรวจสอบความผิดพลาดของขอมูลแลว

    ตัวอยางขอยอยท่ี 3. ความเปนตัวแทน สถานรักษา

    สัปดาหท่ีรักษา

    1 2 3 4 5 6 7 8 รพศ. ก 75 93 8

    8 99 7

    4 95 17 0

    คิดเปนiรอยละที่ผาน 8/12 สัปดาห = รอยละ 75

    สรุป ไดคะแนน = 0.5 คะแนน

    3. ขอมูลจาก รพช. รพศ./รพท. มีความเปนตัวแทนได เชน ใน 1 สัปดาห รพช .ควรมีผูปวยในระบบเฝาระวังเขามา รับการรักษาเทาใด หากมีนอยกวาท่ีควรจะเปนเชน 1-2 ราย ซึ่งไมนาจะเปนตัวแทนได (ใชขอมูล 3 เดือนยอนหลัง การพิจารณาความเปนตัวแทน ของ รพช. ไมต่ํากวา 5 ราย/สัปดาห รพท . 30 ราย และ รพศ . 50 ราย)

    เกณฑการใหคะแนน - มีความเปนตัวแทนไดรอยละ 80 ข้ึนไป

    = 1 คะแนน

  • 21

    อําเภอควบคุมโรคเขมแข็งแบบยั่งยืนภายใตระบบสุขภาพอําเภอ (DHS/DC) ป 2558

    ประเด็นการประเมิน คะแนน คําอธิบาย เอกสารหลักฐาน

    2.4 ทีม SRRT ระดับอําเภอ มีการซอมแผนตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

    5

    - มีความเปนตัวแทนไดรอยละ 50-79 = 0.5 คะแนน

    - มีความเปนตัวแทนไดต่ํากวารอยละ 50 = 0 คะแนน

    หมายเหต ุหากอําเภอใดไมมี รพช. รพศ./รพท. ไมตองประเมินขอน้ี แตใหปรับคะแนนขอท่ี 1. จาก 2 คะแนนเปน 3 คะแนนแทน (รพ.สต. มีรายงานสม่ําเสมอ แตอาจไมมีการรายงานในบางสัปดาห กรณีไม มีผูปวยท่ีตองรายงาน ใหเวนไมเกิน 2 สัปดาหติดตอกัน (รอยละ 100) = 3 คะแนน)

    ทีม SRRT อําเภอมีการซอมแผนตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ตัวอยางเชน กรณีสารเคมีรั่ว การระบาดของไขหวัดนก การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส อีโบลา เปนตน และมีการถอดบทเรียน หลังฝกซอม (After Action Review) (ใชขอมูลการฝกซอมในรอบ12 เดือนยอนหลัง) เกณฑการใหคะแนน

    - มีการฝกซอมตามแผนตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและถอดบทเรียนหลังการฝกซอม = 5 คะแนน

    - มีการฝกซอมแผนตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขแตไมมีการถอดบทเรียนหลังการฝกซอม = 3 คะแนน

    - ไมมีการฝกซอม = 0 คะแนน

    รายงานการฝกซอมพรอมภาพกิจกรรม

    (โดยมีทีมSRRTเขารวมไมตํ่ากวารอยละ 50 ของทีม)

    2.5 ทีม SRRT เครือขายระดับตําบล ผานการประเมินรับรองมาตรฐานจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด และมีการเฝาระวังเหตุการณท่ีมีคุณภาพ

    8 1. ทีม SRRT เครือขายระดับตําบลผานการประเมินรับรองมาตรฐาน โดย สสจ. อยางนอย 1 แหง/อําเภอ/ป 5 คะแนน เกณฑการใหคะแนน