วิชาเคมีว40223 การคํานวณเก ี่ยว...

6
1 ครูกันทิมา โชคสุชาติ วิชาเคมี 40223 ชั้น มัธยมศึกษาปที5 หนวยการเรียนรูที6 เรื่อง การคํานวณ ครูกันทิมา โชคสุชาติ โรงเรียนวังไกลกังวล [email protected] 26-5-51 2 ครูกันทิมา โชคสุชาติ การคํานวณเกี่ยวกับ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คํานวณจากสูตร a A+ bB ---> cC + dD 26-5-51 3 ครูกันทิมา โชคสุชาติ * อัตราการเกิดของสาร D = ปริมาณสาร D ที่เกิดขึ้น ระยะเวลาที่เกิดขึ้น * อัตราการเกิดของสาร C = ปริมาณสาร C ที่เกิดขึ้น ระยะเวลาที่เกิดขึ้น 26-5-51 4 ครูกันทิมา โชคสุชาติ ** อัตราการลดลงของสาร A = ปริมาณสาร A ที่ลดลง ระยะเวลาที่เกิดขึ้น ** อัตราการลดลงของสาร B = ปริมาณสาร B ที่ลดลง ระยะเวลาที่เกิดขึ้น

Transcript of วิชาเคมีว40223 การคํานวณเก ี่ยว...

Page 1: วิชาเคมีว40223 การคํานวณเก ี่ยว ...edltv.thai.net/courses/563/51chM5-KOs0101004.pdfคร ก นท มา โชคส ชาต 26-5-51

26-5-51 1ครูกันทิมา โชคสุชาติ

วิชาเคมี ว40223ชั้น มธัยมศึกษาปที ่5หนวยการเรยีนรูที ่6เรือ่ง การคํานวณ

ครูกันทิมา โชคสุชาติโรงเรียนวังไกลกังวล

[email protected] 2ครูกันทิมา โชคสุชาติ

การคาํนวณเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีคํานวณจากสูตร a A+ bB ---> cC + dD

26-5-51 3ครูกันทิมา โชคสุชาติ

* อัตราการเกิดของสาร D = ปริมาณสาร D ที่เกิดขึน้

ระยะเวลาที่เกิดขึ้น

* อัตราการเกิดของสาร C = ปริมาณสาร C ที่เกิดขึ้น

ระยะเวลาที่เกิดขึ้น

26-5-51 4ครูกันทิมา โชคสุชาติ

** อัตราการลดลงของสาร A = ปริมาณสาร A ที่ลดลง

ระยะเวลาที่เกิดขึ้น** อัตราการลดลงของสาร B

= ปริมาณสาร B ที่ลดลงระยะเวลาที่เกิดขึ้น

Page 2: วิชาเคมีว40223 การคํานวณเก ี่ยว ...edltv.thai.net/courses/563/51chM5-KOs0101004.pdfคร ก นท มา โชคส ชาต 26-5-51

26-5-51 5ครูกันทิมา โชคสุชาติ 26-5-51 6ครูกันทิมา โชคสุชาติ

ตัวอยางที่ 1A (g) + 2B (g) 3 C (g)+ D (g)

ใชกาซA 5 โมลทําปฏิกิริยากับกาซ B 3 โมล ในภาชนะ 500 cm3 เมือ่เวลาผานไป 25วินาทีวัดปริมาตร D ทันทีเกิดขึ้น 0.5 โมล จงหาอัตราเกิดกาซ C อัตราการลดลงของกาซ Aอตัราการเกิดปฏิกิริยา (โมล/วินาที)

26-5-51 7ครูกันทิมา โชคสุชาติ

วิธีคิด อัตราการเกิดกาซ Cอัตราการเกิดกาซ D = 0.525

= 0.02 mol/s1/3 อัตราการเกิดกาซ C = อัตราการเกิดกาซ D

= 0.02 X 3 mol/s= 0.06 mol/sอัตราการเกิดกาซ C

26-5-51 8ครูกันทิมา โชคสุชาติ

อัตราการเกิดกาซ D อัตราการลดลงกาซ A =0.02 mol/s

อัตราการเกิดกาซD อัตราการเกิดปฏิกิริยา =

อัตราการเกิดปฏิกิริยา = 0.02 mol/s

อัตราการลดลงกาซ A =

Page 3: วิชาเคมีว40223 การคํานวณเก ี่ยว ...edltv.thai.net/courses/563/51chM5-KOs0101004.pdfคร ก นท มา โชคส ชาต 26-5-51

26-5-51 9ครูกันทิมา โชคสุชาติ

ตัวอยางที่ 2จากการทดลองวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาโดยการจับเวลาตั้งแตเริ่มตนจนปฏิกิริยาสิ้นสุดที่อุณหภูมิตางกันพบวาไดผลดังนี้

26-5-51 10ครูกันทิมา โชคสุชาติ

อัตราเร็วของปฏิกิริยาจะเพิ่มเปน2เทา เมือ่เพิม่อุณหภูมิขึน้เทาใด

อุณหภมูิ ( C) เวลาที่ใช (S)164056

4004056

0

26-5-51 11ครูกันทิมา โชคสุชาติ

อุณหภูมิเพิม่ขึน้จาก 40เปน 56 = 16 C0

เวลาที่ใชลดลง 40 วินาทีเปน 12.5แสดงวา

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิม่ขึน้ 4 เทาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิม่ขึน้ 4 เทา = 16 Cถาเพิม่ขึ้นเปน 2เทา = 16 x 2/4 = 8 C

0

0

26-5-51 12ครูกันทิมา โชคสุชาติ

ตัวอยางที่ 3 ในการศึกษาปฏิกิริยาระหวางฮีโมโกลบิน(Hb) กับCO ที่ 20 Cมีสมการดังนี้4 Hb + 3 CO Hb4(CO)3

0

Page 4: วิชาเคมีว40223 การคํานวณเก ี่ยว ...edltv.thai.net/courses/563/51chM5-KOs0101004.pdfคร ก นท มา โชคส ชาต 26-5-51

26-5-51 13ครูกันทิมา โชคสุชาติ

ความเขมขนของสารตั้งตน(mol/dm3)

อัตราการหายไปของ Hb

(mol/dm3)[Hb] [CO]3.06.06.0

1.001.002.00

0.901.803.60

ในขณะที่ความเขมขนของ Hb เปน 3 และ CO เปน 2.0

อัตราการหายไปของ Hb เปนเทาใดmol/dm3mol/dm3

26-5-51 14ครูกันทิมา โชคสุชาติ

วิธีคิด จากผลการทดลองเมือ่ใช [Hb]=6.0 และ[CO]= 2.0 mol/dm3

อัตราการหายไปของHb จะเปน 2 เทาเมือ่ใช CO = 1.0 mol/dm3

ดังนั้นเมือ่ใช [Hb] = 6.0 และ[CO]=2.0 mol/dm3

อัตราการหายไป Hb = 0.9 x 2 = 1.80 mol/dm3

26-5-51 15ครูกันทิมา โชคสุชาติ

กฎอัตราและคาคงที่ของกฎอตัรา(Law of Mass Action)

“ อตัราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเปนสัดสวนโดยตรงกับผลคูณของความเขมขนของสารตั้งตนและความเขมขนแตละคามีเลขยกกาํลังแลวแตปฏิกิริยาโดโดยเฉพาะ ”

26-5-51 16ครูกันทิมา โชคสุชาติ

a A + b B c C + dDจากกฎสามารถเขยีนไดความสัมพันธดังนี้

R α [A]n [B]m

R = K[A]n [B]m

R = อัตราการเกิดปฏิกิริยาK= คาคงที่ของอัตรา (อุณหภูมิคงที่)n,m = เลขบอกกําลงัความเขมขน

เรียกสมการนี้วากฎอัตรา หรือ สมการอัตรา

Page 5: วิชาเคมีว40223 การคํานวณเก ี่ยว ...edltv.thai.net/courses/563/51chM5-KOs0101004.pdfคร ก นท มา โชคส ชาต 26-5-51

26-5-51 17ครูกันทิมา โชคสุชาติ

เชน 2A + 4B 2 C + DR = k [A]2 [B]4

R = k [A] [B] ไมใชR = k [A][B]2

A + 2B 2 C ปฏิกิริยาเกิด 2 ขัน้1. A + B X เกิดชา2. X+ B 2 C เกิดเร็ว

26-5-51 18ครูกันทิมา โชคสุชาติ

ตัวอยางที่ 1 ปฏิกริิยาของ2 NO (g) + 2H2 (g) N2 (g) + H2O (g)

ปฏิกิริยาเกิด 2 ขัน้ ดังนี้2 NO + H2 N2 + H2O เกิดชา2 H2O2 + H2 H2O เกิดเร็วอัตราการเกิดปฏิกิริยา = k [NO]2 [H2]

26-5-51 19ครูกันทิมา โชคสุชาติ

อันดับของปฏิกิริยาเปนคาตัวเลขใดๆ (X,Y)ที่หาไดจากการทดลองเทานั้น เพือ่แสดงใหทราบถึงความสัมพันธที่วา“ เมือ่ความเขมขนของสารตั้งตนเปลีย่นไป X เทา อัตราเร็วของปฏิกิริยาจะเปลีย่นไปกีเ่ทา”

26-5-51 20ครูกันทิมา โชคสุชาติ

แบงออกเปนปฏิกิริยา

แลวแตปฏิกิริยา

ปฏิกิริยาอันดับศูนยปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง

ปฏิกิริยาอันดับสอง….

Page 6: วิชาเคมีว40223 การคํานวณเก ี่ยว ...edltv.thai.net/courses/563/51chM5-KOs0101004.pdfคร ก นท มา โชคส ชาต 26-5-51

26-5-51 21ครูกันทิมา โชคสุชาติ

ปฏิกิริยาอันดับศูนยมี X = 0ดังสมการตอไปนี้

A ผลิตภัณฑR = k [A]0

26-5-51 22ครูกันทิมา โชคสุชาติ

ปฏิกิริยาอันดับหนึ่งมี X = 1ดังสมการตอไปนี้

A ผลิตภัณฑR = k [A]

(ไมตองแสดงเลขยกกําลัง *)

26-5-51 23ครูกันทิมา โชคสุชาติ

ปฏิกิริยาอันดับสองมี X = 2ดังสมการตอไปนี้

A ผลิตภัณฑR = k [A]2

26-5-51 24ครูกันทิมา โชคสุชาติ