Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า...

45
3 คานา รากดาใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 มีชื่อสามัญว่า Java fern เป็นพรรณไม้นาในวงศ์เฟิร์น Polypodiaceae (Nayar, 1961) ในธรรมชาติพบเจริญเติบโตบนก้อนหิน หรือขอนไม้บริเวณลาธารหรือนาตก ใบของรากดาใบยาวมีลักษณะเป็นรูปหอก ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ ใบมีสีเขียวเข้ม รากมีขนาดเล็กและมีสีดา ( จารุพันธ์และปิยเกษตร, 2550; Rataj and Horeman, 1977) ( ภาพที1) ภาพที1 ลักษณะต้นรากดาใบยาว รากดาใบยาวเป็นพรรณไม้นาสวยงามที่ ตลาดต่างประเทศมีความต้องการสูงและมีราคาดี แต่ผลผลิตมีปริมาณไม่เพียงพอสาหรับการส่งออก ทั้งนี้เนื่องจากการขยายพันธุ์โดย วิธีการเพาะสปอร์เพื่อให้ เจริญพัฒนาเกิดต้นอ่อนต้องใช้ระยะเวลานาน และการขยายพันธุ์โดย วิธีการตัดแยกเหง้าจากต้นพันธุ์ได้ต้น อ่อนจานวนน้อย และต้องปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมเพื่อให้ต้นพันธุ์สามารถเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ และใช้ระยะเวลาการเลี้ยงนาน ทาให้เป็นอุปสรรคต่อ การขยายธุรกิจการเพาะเลี้ยงพรรณไม้นาสวยงามเพื่อ การส่งออก ปัจจุบันเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช มีบทบาทมากทั้งในด้านการขยายพันธุ์พืช เชิงอุตสาหกรรม การอนุรักษ์เชื้อพันธุ์พืช การผลิตสารทุติยภูมิ การปรับปรุงพันธุ์พืช การผลิตพืชที่ปราศจาก โรค เป็นต้น (Payne et al., 1992; Kyte and Kleyn, 1999) การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชจัดเป็นวิธีการเพาะ ขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ โดยใช้ชิ้นส่วนของพืชขนาดเล็ก เช่น อวัยวะต่างๆ ได้แก่ ยอด ใบ ราก ดอก ผล อับละอองเกสร หัว เซลล์เพียงเซลล์เดียวจากใบ หรือละอองเกสร และเซลล์ที่ปราศจากผนังเซลล์

Transcript of Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า...

Page 1: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

3

ค าน า

รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 มีชื่อสามัญว่า Java fern เป็นพรรณไม้น้ าในวงศ์เฟิร์น Polypodiaceae (Nayar, 1961) ในธรรมชาติพบเจริญเติบโตบนก้อนหินหรือขอนไมบ้ริเวณล าธารหรือน้ าตก ใบของรากด าใบยาวมีลักษณะเป็นรูปหอก ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ ใบมีสีเขียวเข้ม รากมีขนาดเล็กและมีสีด า (จารุพันธ์และปิยเกษตร, 2550; Rataj and Horeman, 1977) (ภาพที่ 1)

ภาพท่ี 1 ลักษณะต้นรากด าใบยาว รากด าใบยาวเป็นพรรณไม้น้ าสวยงามที่ ตลาดต่างประเทศมีความต้องการสูงและมีราคาดี

แต่ผลผลิตมีปริมาณไม่เพียงพอส าหรับการส่งออก ทั้งนี้เน่ืองจากการขยายพันธุ์โดย วิธีการเพาะสปอร์เพื่อให้เจริญพัฒนาเกิดต้นอ่อนต้องใช้ระยะเวลานาน และการขยายพันธุ์โดย วิธีการตัดแยกเหง้าจากต้นพันธุ์ได้ต้นอ่อนจ านวนน้อย และต้องปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมเพื่อให้ต้นพันธุ์สามารถเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ และใช้ระยะเวลาการเลี้ยงนาน ท าให้เป็นอุปสรรคต่อ การขยายธุรกิจการเพาะเลี้ยงพรรณไม้น้ าสวยงามเพื่อการส่งออก

ปัจจุบันเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืช มีบทบาทมากทั้งในด้านการขยายพันธุ์พืช เชิงอุตสาหกรรม การอนุรักษ์เชื้อพันธุ์พืช การผลิตสารทุติยภูมิ การปรับปรุงพันธุ์พืช การผลิตพืชที่ปราศจากโรค เป็นต้น (Payne et al., 1992; Kyte and Kleyn, 1999) การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืชจัดเป็นวิธีการเพาะขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ โดยใช้ชิ้นส่วนของพืชขนาดเล็ก เช่น อวัยวะต่างๆ ได้แก่ ยอด ใบ ราก ดอก ผล อับละอองเกสร หัว เซลล์เพียงเซลล์เดียวจากใบ หรือละอองเกสร และเซลล์ที่ปราศจากผนังเซลล์

Page 2: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

4

ที่เรียกว่า โปรโตพลาสต์ น ามาเลี้ยงในอาหาร วิทยาศาสตร์ที่ประกอบด้วย แร่ธาตุ น้ าตาล วิตามิน และสารควบคุมการเจริญเติบโตในสภาพปลอดเชื้อจุลินทรีย์ และอยู่ในสภาวะควบคุมอุณหภูมิและแสง ชิ้นส่วนของพืชเหล่านี้สามารถเจริญเติบโตเกิดเป็นต้นใหม่ได้จ านวนมาก (อรด,ี 2526)

การเลือกชิ้นส่วนของพืชและการขจัดสิ่งปนเปื้อน (disinfection) หรือการฟอกฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ออกจากบริเวณผิวภายนอกของชิ้นส่วนพืช ไม่ให้เชื้อจุลินทรีย์ดังกล่าวมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจนท าให้เกิดความเสียหายแก่เน้ือเยื่อที่เพาะเลี้ยงได้ รวมถึงลดผลของเชื้อจุลินทรีย์ที่อาจไปเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อความเป็นกรดและด่าง (pH) และการเคลื่อนย้ายธาตุอาหาร สารฟอกก าจัดเชื้อที่ผิวภายนอกของชิ้นเน้ือเยื่อมีหลายๆ ชนิด เช่น โซเดียมไฮโปคลอไรต์ (sodium hypochlorite) ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (hydrogen peroxide) และเมอคิวริคคลอไรด์ (mercuric chloride) เป็นต้น โดยสารฟอกฆ่าเชื้อที่นิยมใช้มากที่สุด คือ คลอรอกซ์ (chlorox) ซึ่งมีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไร ต์ 5.25 เปอร์เซ็นต์ (รังสฤษดิ์, 2540) ซึ่งสิ่งส าคัญที่ต้องค านึงถึง คือ ชนิดและระดับความเข้มข้นของสารฟอกฆ่าเชื้อที่ใช้ให้มีปริมาณที่เหมาะสม ต่อชนิดพืชนั้นๆ โดยควรใช้สารฟอกฆ่าเชื้อที่มีความเข้มข้นต่ าสุดที่มีประสิทธิภาพในการท าลายสิ่งปนเปื้อนได ้หากใช้สารที่มีความเข้มข้นน้อยเกินไป ท าให้ชิ้นเน้ือเยื่อไม่สะอาด และหากใช้สารที่มีความเข้มข้นสูงเกินไปจะท าลายชิ้นเน้ือเยื่อ โดยสารที่ใช้อาจเป็นสารชนิดเพียงชนิดเดียวหลายระดับความเข้มข้น หรือใช้สารหลายชนิดมาท าการฟอกฆ่าเชื้อร่วมกัน (ศิวพงศ์, 2546)

ชิ้นส่วนเนื้อเยื่อพืชที่ผ่านการฟอกฆ่าเชื้อแล้วน ามาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุอาหารที่พืชสามารถน าไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ศาลักษณ์, 2547) แม้ว่าพืชส่วนใหญ่ตอบสนองต่ออาหารสูตร Murashige & Skoog (1962) (ประศาสตร์, 2538) แต่บางชนิดก็ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ดี ในอาหารสูตรนี้เนื่องจากอาหารสูตรนี้มีปริมาณเกลือแร่อยู่ในปริมาณสูง เช่น ต้น blueberry เจริญได้ดีในอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่มีเกลือแร่ลดลงเป็น ¼ เท่า (บุญยืน, 2544) นอกจากนี้พืชบางชนิดต้องการ อาหารที่มีความเข้มข้นของไนโตรเจนและโพแทสเซียมต่ า แต่อาจต้องการแคลเซียมและแมกนีเซียมปริมาณสูง นอกจากนี้ น้ าตาล วิตามิน สารอินทรีย์และสารควบคุมการเจริญเติบโต ก็มีความส าคัญต่อความส าเร็จในการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืชชนิดต่างๆ ในอัตราที่ต่างกัน (มณฑา, 2542)

การตัดชิ้นส่วน เน้ือเยื่อมัก พบว่าชิ้นส่วน เน้ือเยื่อ ที่ถูกตัดมีการปล่อยสารสี (phenolic compound) ที่มีผลในการยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช (จิรพันธ์ , 2546) การลดระดับของเกลือในอาหารสังเคราะหแ์ละการใช้ผงถ่านกัมมันต์ (activated charcoal) จะสามารถดูดซับของเสียต่างๆ ที่เนื้อเยื่อพืชปล่อยออกมาได้ นอกจากนี้ผงถ่านกัมมันต์ช่วยกรองแสง ท าให้แสงผ่านเข้าไปในอาหารสังเคราะห์น้อย เกิดการเปลี่ยนสภาพจากที่สว่างเป็นที่มืด ท าให้เกิดการชักน าให้เกิดการเพิ่มจ านวนรากมากยิ่งขึ้น (มณฑา, 2542)

โดยปกติแล้วเนื้อเยื่อพืชที่แยกมาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์มีความต้องการธาตุอาหารและสารอาหารที่จ าเป็นซึ่งมีความซับซ้อนมากกว่าความต้องการของพืชทั้งต้น เช่น มีความต้องการวิตามินและสารควบคุมการเจริญเติบโต (growth regulators) เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของเซลล์และการเปลี่ยนแปลงพัฒนาเพื่อก าเนิดอวัยวะ (organogenesis) หรือคัภพะ (embryogenesis) ฮอร์โมนและสารควบคุม

Page 3: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

5

การเจริญเติบโตของพืชที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1) กลุ่มออกซิน (auxins) เช่น NAA (naphthalene acetic acid) และ IAA (indole-3-acetic acid) เป็นต้น ออกซินเป็นกลุ่มของสารที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการขยายขนาดของเซลล์และการเกิดราก อย่างไรก็ตามการใช้ออกซินความเข้มข้นสูงมักก่อให้เกิดความเป็นพิษกับพืช เช่น ใบร่วง และต้นชะงักการเจริญเติบโตจนอาจตายได้ กลุ่มที่ 2) กลุ่มไซโตไคนิน (cytokinins) เช่น Kinetin (6-furfuryl amino purine) และ BA (6-benzyladenine) เป็นต้น สารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุ่มไซโตไคนินเกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์ควบคุมการสร้างอวัยวะและกระตุ้นการแตกตาข้าง โดยไซโตไคนิน ช่วยกระตุ้นให้เซลล์แบ่งตัวได้อย่างรวดเร็ว เร่งให้เนื้อเยื่อพืชเจริญไปเป็นยอดและต้น และกลุ่มที่ 3) ฮอร์โมนอ่ืนๆ เช่น จิบเบอเรลลิน เป็นสารที่พบในธรรมชาติ มีผลต่อการกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชทั้งต้นโดยท าให้เกิดการยืดตัวของเซลล์ และกระตุ้นการออกดอกของพืช นอกจากนี้จิบเบอเรลลินมีผลต่อการท าลายการพักตัวของเมล็ดและยับยั้งการชักน าขบวนการเกิดเป็นอวัยวะของพืช เช่น ท าให้การเกิดรากช้าลง และยับยั้งการเกิดยอด (รังสฤษดิ์, 2540; ศิวพงศ์, 2546; Brock and Kaufman, 1991)

ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีชีวภาพโดยวิธีการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อจึงมีบทบาทอย่างมากทางด้านการผลิตพืชเพื่อให้ได้ปริมาณมากๆ สามารถเพิ่มจ านวนได้เป็นทวีคูณ และมีคุณภาพสม่ าเสมอ (Morel, 1964) ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตต้นรากด าใบยาวในระยะเวลาสั้น ต้นพันธุ์มีคุณภาพสูง ปลอดโรค มีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ

วัตถุประสงค์

1. เพื่อศึกษาชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ชนิดและปริมาณสารฟอกฆ่าเชื้อที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อรากด าใบยาว 2. เพื่อศึกษาผลของระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะห์สูตร MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ที่มีต่อการเจริญ

พัฒนาของรากด าใบยาวในสภาพปลอดเชื้อ 3. เพื่อศึกษาผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุ่มไซโตไคนินและออกซินที่มีต่อการชักน าให้เกิดใบอ่อน

และรากของชิ้นเนื้อเยื่อรากด าใบยาว 4. เพื่อศึกษาการปลูกทดสอบต้นรากด าใบยาวที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อใน โรงเรือนเพาะช าพรรณไม้น้ า

โดยใช้ระบบปลูกโดยไม่ใช้ดิน

Page 4: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

6

วิธีด าเนินการ 1. ศึกษาชิ้นส่วนเน้ือเยื่อ ชนิดและปริมาณสารฟอกฆ่าเชื้อท่ีเหมาะสมในการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือรากด าใบยาว

1.1 การวางแผนการทดลอง ทดลองฟอกฆ่าเชื้อ ชิ้นเน้ือเยื่อของรากด าใบยาว ได้แก่ ใบเฟิร์นซึ่งอยู่ในระยะใบม้วน ใบอ่อน

และใบแก่ ด้วยชนิดของสารฟอกฆ่าเชื้อ 2 ชนิด ได้แก่ คลอรอกซ์และเมอคิวริคคลอไรด์ ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน 10 ชุดการทดลอง (treatment) แต่ละชุดการทดลองมี 10 ซ้ า (replication) ดังนี ้

สูตรที่ 1 ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 1 ใช้คลอรอกซ์ 8 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 15 นาที ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 2 ใช้คลอรอกซ์ 4 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที

สูตรที่ 2 ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 1 ใช้คลอรอกซ์ 4 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 15 นาที ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 2 ใช้คลอรอกซ์ 2 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที

สูตรที่ 3 ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 1 ใช้คลอรอกซ์ 2 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 15 นาที ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 2 ใช้คลอรอกซ์ 1 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที

สูตรที่ 4 ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 1 ใช้คลอรอกซ์ 1 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 15 นาที ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 2 ใช้คลอรอกซ์ 0.5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที

สูตรที่ 5 ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 1 ใช้คลอรอกซ์ 0.5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 15 นาที ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 2 ใช้คลอรอกซ์ 0.25 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที

สูตรที่ 6 ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 1 ใช้คลอรอกซ์ 8 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 15 นาที ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 2 ใช้เมอคิวริคคลอไรด์ 4 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที

สูตรที่ 7 ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 1 ใช้คลอรอกซ์ 4 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 15 นาที ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 2 ใช้เมอคิวริคคลอไรด์ 2 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที

สูตรที่ 8 ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 1 ใช้คลอรอกซ์ 2 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 15 นาที ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 2 ใช้เมอคิวริคคลอไรด์ 1 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที

สูตรที่ 9 ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 1 ใช้คลอรอกซ์ 1 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 15 นาที ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 2 ใช้เมอคิวริคคลอไรด์ 0.5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที

สูตรที่ 10 ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 1 ใช้คลอรอกซ์ 0.5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 15 นาที ฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 2 ใช้เมอคิวริคคลอไรด์ 0.25 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาท ี

Page 5: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

7

1.2 วิธีด าเนินการ

1.2.1 เลือกชิ้นส่วนเน้ือเยื่อ 3 ส่วนของรากด าใบยาว ได้แก่ ใบเฟิร์นซึ่งอยู่ในระยะใบอ่อนม้วน ใบอ่อนและใบแก ่มาล้างด้วยน้ าไหลผ่านให้สะอาด

1.2.2 ฟอกฆ่าเชื้อเบื้องต้นที่ผิวด้วยแอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต ์โดยการแชช่ิ้นส่วนพืชเป็นระยะเวลา 1 นาที แล้วล้างด้วยน้ ากลั่นที่นึ่งฆ่าเชื้อแล้ว 3 คร้ัง

1.2.3 น าชิ้นเนื้อเยื่อมาทดลองฟอกฆ่าเชื้อที่ผิว (surface sterilization) อัตราความเข้มข้นต่างๆ กัน 10 สูตร สูตรละ 10 ซ้ า (10 ขวด) โดยการฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 1 เป็นเวลา 15 นาที และการฟอกฆ่าเชื้อคร้ังที่ 2 เป็นเวลา 10 นาที ส าหรับการฟอกฆ่าเชื้อทั้ง 2 คร้ัง ได้ท าการหยดสารจับใบ (surfactant) ได้แก ่tween-20 ระดับความเข้มข้น 0.05 เปอร์เซ็นต ์แล้วล้างด้วยน้ ากลั่นที่นึ่งฆ่าเชื้อแล้ว 3 คร้ัง ตามวิธีใน รังสฤษดิ์ (2540)

1.2.4 ตัดชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ใบเฟิร์นซึ่งอยู่ในระยะใบอ่อนม้วน ใบอ่อนและใบแก่ให้มีขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร ท าการย้ายชิ้นส่วนเน้ือเยื่อมาเลี้ยง ในอาหารสังเคราะหส์ูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่เติม Kinetin ระดับความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยใช้เทคนิคปลอดเชื้อตามวิธีใน Smith (1992) น าไปเลี้ยงในห้องเลี้ยงเน้ือเยื่อที่ควบคุมอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความเข้มแสงประมาณ 1,000 ลักซ์ ระยะเวลาการได้รับแสง 12 ชั่วโมงต่อวัน ต้ังแต่เวลา 08.00-20.00 น.

1.2.5 ตรวจสอบและบันทึกผลการทดลอง โดยนับจ านวนชิ้นเนื้อเยื่อที่เกิดการปนเปื้อน ด้วยเชื้อจุลินทรีย์ และนับจ านวนชิ้นเนื้อเยื่อที่เจริญพัฒนา เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ 2. ศึกษาผลของระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะห์สูตร MS และผงถ่านกัมมันตท่ี์มีต่อการเจรญิพัฒนาของรากด าใบยาวในสภาพปลอดเชื้อ

2.1 การวางแผนการทดลอง

วางแผนการทดลองแบบ 4x2 factorial experiment in completely randomized design เพื่อศึกษาอิทธิพลของ 2 ปัจจัย ที่มีต่อการเจริญพัฒนาของรากด าใบยาวในสภาพปลอดเชื้อ ซึ่งปัจจัย A ได้แก่ อาหารสังเคราะห์สูตร MS ระดับความเข้มข้นต่างกัน 4 ระดับ คือ ¼ MS, ½ MS, ¾ MS และ MS (ตารางผนวกที่ 1) ปัจจัย B ได้แก่ ผงถ่านกัมมันต์ระดับความ เข้มข้นต่างกัน 2 ระดับ คือ 0.0 และ 1.0 กรัมต่อลิตร รวมทั้งหมด 8 ชุดการทดลอง (treatment combination) แต่ละชุดการทดลองมี 20 ซ้ า (replication) (20 ขวด) ตามผังการทดลอง ดังนี ้

Page 6: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

8

ปัจจัย A ปัจจัย B (ผงถ่านกัมมันต์, กรัมต่อลิตร) (ระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะห์สูตร MS) 0.0 1.0

¼ MS a1b1 a1b2 ½ MS a2b1 a2b2 ¾ MS a3b1 a3b2

MS a4b1 a4b2 2.2 วิธีด าเนินการ

2.2.1 น าต้นอ่อนปลอดเชื้อของรากด าใบยาวที่ เจริญพัฒนา จากชิ้นส่วนเนื้อเยื่อและวิธีการฟอกฆ่าเชื้อที่เหมาะสมที่สุดจากการทดลองที่ 1 มาตัดแยกชิ้นส่วน เน้ือเยื่อให้มีขนาด 1 เซนติเมตร แล้วน าไปเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์สูตร MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ ตามแผนการทดลองที่วางไว้

2.2.2 น าชิ้นส่วนเนื้อเยื่อส่วนเนื้อเยื่อไปเลี้ยงในห้องเลี้ยงเน้ือเยื่อที่ควบคุมอุณหภูมิประมาณ 25 องศาเซลเซียส ความเข้มแสง ประมาณ 1,000 ลักซ์ ระยะเวลาการได้รับ แสง 12 ชั่วโมงต่อวัน ต้ังแต่เวลา 08.00-20.00 น. ทดลองเลี้ยงเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ตรวจสอบการเจริญพัฒนาและบันทึกผลการทดลอง ได้แก่ จ านวนใบอ่อน จ านวนราก และอัตรารอด

2.3 การวิเคราะห์ข้อมูล

ท าการแปลงข้อมูลจ านวน ใบอ่อนและจ านวน ราก เพื่อให้ข้อมูลมีการกระจายแบบปกติ (normal distribution) จากนั้นน าข้อมูลไปวิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis of variance) และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยวิธี Tukey’s test ตามวิธีของกัลยา (2544) 3. ศึกษาผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุ่มไซโตไคนินและออกซินท่ีมีต่อการชักน าให้เกิด ใบอ่อนและรากของรากด าใบยาวในสภาพปลอดเชื้อ

3.1 การวางแผนการทดลอง

น าชิ้นเนื้อเยื่อ ส่วน ใบอ่อนของต้น อ่อนรากด าใบยาวที่เจริญ พัฒนา จากการทดลองที่ 2 มาศึกษาผลของ สารควบคุมการเจริญเติบโต ที่มีต่อการชักน าให้เกิด ใบอ่อน และรากของรากด าใบยาว ในสภาพปลอดเชื้อ โดยวางแผนการทดลองแบบ 5x4 factorial experiment in completely randomized design ตามวิธีใน Lewis-Back (1993) ศึกษาอิทธิพลของสารควบคุมการเจริญเติบโต ที่มีต่อการชักน าให้เกิด ใบอ่อน

Page 7: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

9

และรากของรากด าใบยาวในสภาพปลอดเชื้อ จ านวน 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัย A คือ สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชในกลุ่มไซโตไคนิน 2 ชนิด ได้แก่ Kinetin และ BA ระดับความเข้มข้นต่างกัน 5 ระดับ ได้แก่ 0.0, 0.5, 1.0, 2.0 และ 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร และปัจจัย B คือ สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชในกลุ่มออกซิน ได้แก่ NAA ระดับความเข้มข้นต่างกัน 4 ระดับ ได้แก่ 0.0, 0.5, 1.0, และ 2 .0 มิลลิกรัมต่อลิตร รวมทั้งหมด 20 ชุดการทดลอง (treatment combination) แต่ละชุดการทดลองมี 20 ซ้ า (replication) (20 ขวด) ตามแผนผังการทดลอง ดังนี้

ปัจจัย A ปัจจัย B (NAA, มิลลิกรัมต่อลิตร)

(Kinetin / BA, มิลลิกรัมต่อลิตร) 0.0 0.5 1.0 2.0 0.0 a1b1 a1b2 a1b3 a1b4 0.5 a2b1 a2b2 a2b3 a2b4 1.0 a3b1 a3b2 a3b3 a3b4 2.0 a4b1 a4b2 a4b3 a4b4 4.0 a5b1 a5b2 a5b3 a5b4

3.2 วิธีด าเนินการ

3.2.1 น าต้นอ่อนปลอดเชื้อของรากด าใบยาวที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ จากการทดลอง ที่ 2 มาตัดแยกชิ้น เน้ือเยื่อส่วนใบอ่อน ขนาด 1 เซนติเมตร ลงเลี้ยงในอาหาร สังเคราะห์สูตร MS ร่วมกับ ผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น ที่เหมาะสมที่สุดจากการทดลองที่ 2 โดยเติมสารควบคุมการเจริญเติบโตตามแผนการทดลองที่วางไว้

3.2.2 น าชิ้นส่วนเนื้อเยื่อส่วนใบอ่อนไปเลี้ยงในห้องเลี้ยงเน้ือเยื่อที่ควบคุมอุณหภูมิประมาณ 25 องศาเซลเซียส ความเข้มแสง ประมาณ 1,000 ลักซ์ ระยะเวลาการได้รับ แสง 12 ชั่วโมงต่อวัน ต้ังแต่เวลา 08.00-20.00 น. ทดลองเลี้ยงเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ตรวจสอบการเจริญพัฒนาและบันทึกผลการทดลอง ได้แก่ จ านวนใบอ่อน จ านวนราก และอัตรารอด

3.3 การวิเคราะห์ข้อมูล

ท าการแปลงข้อมูลจ านวน ใบอ่อนและจ านวน ราก เพื่อให้ข้อมูลมีการกระจายแบบปกติ (normal distribution) จากนั้นน าข้อมูลไปวิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis of variance) และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยวิธี Tukey’s test ตามวิธีของกัลยา (2544)

Page 8: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

10

4. ศึกษาการปลูกทดสอบต้นรากด าใบยาวที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือในโรงเรือนเพาะช าพรรณไม้น้ าโดยใช้ระบบปลูกโดยไม่ใช้ดิน

4.1 น าต้นอ่อนรากด าใบยาวที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อจากชุดการทดลองที่ดีที่สุด อายุ 12 สัปดาห ์จ านวน 150 ต้น มาชั่งน้ าหนัก นับจ านวนใบ และวัดความสูงของต้น จากนั้นน าไปปลูกทดสอบในโรงเรือนเพาะช าพรรณไม้น้ าซึ่งพรางแสงโดยใช้ตาข่ายพรางแสง 80 เปอร์เซ็นต์และติดต้ังระบบสเปรย์น้ าเพื่อเพิ่มความชื้นและลดอุณหภูมิของอากาศ

4.2 ระบบปลูก เป็นระบบ การให้สารละลายธาตุอาหารพืชไหลผ่านรากพืชในระดับลึก (deep flow technique, DFT) โดยใช้ใยหินเป็นวัสดุปลูก โดยปลูกต้นอ่อนรากด าใบยาวในใยหินและจัดวางบนถาดปลูกภายในบ่อปลูกขนาดความกว้าง 90 เซนติเมตร ความยาว 130 เซนติเมตร และความสูง 50 เซนติเมตร จ านวน 3 บ่อ ๆ ละ 50 ต้น จากนั้นเติมสารละลายธาตุอาหาร (ตารางผนวกที่ 2) โดยมีระดับความลึกของสารละลายธาตุอาหารในชุดปลูกเท่ากับ 5 เซนติเมตร และหมุนเวียนสารละลายธาตุอาหารแบบต่อเน่ือง

4.3 ควบคุมความเข้มข้นของสารละลายธาตุอาหารโดยวัดจากค่าความน าไฟฟ้า ให้มีระดับความเข้มข้น 2.0 มิลลิซีเมนต์ต่อเซนติเมตร โดย การปรับระดับความเข้มข้นของ สารละลายธาตุอาหาร เป็นประจ าทุกวัน และตรวจวัดค่าความเป็นกรดเป็นด่าง โดยใช้เคร่ืองมือ pH meter และปรับค่าความเป็นกรดเป็นด่างให้มีค่า 5.8 ทุกวัน โดยใช้กรดไนตริก ( HNO3) เพื่อปรับลดค่าความเป็นกรดเป็นด่าง และใช้โพแทสเซียม ไฮดรอกไซด์ (KOH) เพื่อปรับเพิ่มค่าความเป็นกรดเป็นด่าง

4.4 ตรวจวัดความเข้มแสงด้วยเคร่ือง lux meter โดยหาค่าเฉลี่ยในแต่ละสัปดาห ์ท าการวิเคราะห์คุณสมบัติของน้ าทุก 2 สัปดาห์ ได้แก่ วิเคราะห์อุณหภูมิของน้ าโดยใช้เทอร์โมมิเตอร์ วิเคราะห์ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ าโดยวิธี alkali azide modification วิเคราะห์ปริมาณแอมโมเนียรวมโดยวิธี phenate method วิเคราะห์ปริมาณไนไตรท์โดยวิธี photometric วิเคราะหป์ริมาณไนเตรทโดยวิธี cadmium reduction วิเคราะหป์ริมาณออร์โธฟอสเฟตโดยวิธี ascorbic acid โดยวิธีการวิเคราะหค์ุณภาพน้ าด าเนินการตามที่อธิบายไว้โดยไมตรี และจารุวรรณ (2528) และท าการเปลี่ยนถ่ายน้ าใหม่ทุก 4 สัปดาห์

4.5 เมื่อสิ้นสุดการ เลี้ยงเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ท าการตรวจ นับจ านวนต้นรากด าใบยาว ที่เหลือรอด ชั่งน้ าหนัก นับจ านวนใบ และวัดความสูง ของต้น จากนั้นน าข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์อัตรารอด และการเจริญเติบโต ได้แก่ น้ าหนักเฉลี่ย น้ าหนักที่เพิ่มขึ้น จ านวนใบเฉลี่ย จ านวนใบที่เพิ่มขึ้น ความสูงเฉลี่ย และความสูงที่เพิ่มขึ้น

Page 9: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

11

ผลการศึกษา

1. ชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ชนิดและปริมาณสารฟอกฆ่าเชื้อที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อรากด าใบยาว

เมื่อน าชิ้นส่วนเน้ือเยื่อ รากด าใบยาวทั้ง 3 ส่วน คือ ใบของเฟิร์นระยะใบอ่อนม้วน ใบอ่อนและใบแก่ มาท าการฟอกฆ่าเชื้อโดย วิธีการแตกต่างกัน 10 สูตร แล้วน าไปเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์สูตร MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี Kinetin ระดับความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า ชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ชนิดและปริมาณสารฟอก ฆ่าเชื้อที่เหมาะสมส าหรับการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อรากด าใบยาว คือ การใชช้ิ้นส่วนใบอ่อน มาฟอกฆ่าเชื้อตามสูตรที่ 10 ซึ่งใช้สารละลายคลอรอกซ์ระดับความเข้มข้น 0.5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 1 5 นาที ตามด้วยสารละลายเมอคิวริ คคลอไรด์ ระดับความเข้มข้น 0.25 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที มี อัตรา การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ 10 เปอร์เซ็นต์ และมีอัตราการเจริญพัฒนา 90 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งท าให้ได้ต้นอ่อนรากด าใบยาวที่สามารถน าไปชักน าให้เกิดใบอ่อนและรากได้ในปริมาณมากต่อไป เมื่อเปรียบเทียบกับ สูตรที่ 6 และ 7 ไม่พบอัตรา การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ แต่มีอัตราการเจริญพัฒนา 10 เปอร์เซ็นต์ ส่วนสูตรที่ 8 และ 9 พบว่ามีอัตรา การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ 20 และ 10 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ และมีอัตราการเจริญพัฒนา 10 และ 20 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ส่วนสูตรที่ 1, 2, 3 และ 4 ไม่พบ อัตรา การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ แต่ไม่พบว่าชิ้นส่วนเนื้อเยื่อพืชมีชีวิตอยู่เลย และพบว่าในสูตรที่ 5 มีอัตรา การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ 10 เปอร์เซ็นต์ และมีอัตราการเจริญพัฒนา 10 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 1, 2 และภาพที่ 2) แสดงให้เห็นว่าการใช้สารฟอกฆ่าเชื้อที่ระดับความเข้มข้นสูงสามารถก าจัดเชื้อจุลินทรีย์ได้ แต่สามารถท าลายชิ้นส่วนเนื้อเยื่อพืชด้วยเช่นกัน

ชิ้นส่วนใบของเฟิร์น ระยะใบอ่อนม้วนที่ผ่านการฟอกฆ่าเชื้อด้วยสูตรที่ 1, 2 และ 3 ไม่พบอัตราการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย ์ส่วนสูตรที่ 4 และ 5 มีอัตราการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ 10 และ 20 เปอร์เซ็นต ์ตามล าดับ และพบว่าชิ้นส่วนใบของเฟิร์นระยะใบอ่อนม้วนไม่สามารถเจริญพัฒนาได้แม้ท าการทดลองเลี้ยงเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์แล้วก็ตาม ส่วนสูตร ที่ 6, 7 และ 8 ไม่พบอัตราการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ แต่มีอัตราการเจริญพัฒนา 10, 20 และ 10 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ส่วนสูตรที่ 9 และ 10 มีอัตราการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ 10 และ 20 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ และมีอัตราการเจริญพัฒนา 10 และ 40 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ (ตารางที่ 1 และ 2 )

การฟอกฆ่าเชื้อชิ้นส่วนใบแก่ของรากด าใบยาว พบว่า สูตรที่ 1 และ 2 มีอัตราการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ 10 เปอร์เซ็นต์ แต่พบว่าชิ้นส่วนเน้ือเยื่อส่วนใบแก่ไม่มีความมีชีวิตอยู่เลย และพบว่าสูตรที่ 3, 4 และ 5 มีอัตราการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ 100 เปอร์เซ็นต์ ส าหรับสูตรที่ 6 และ 7 ไม่พบอัตราการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ และไม่พบชิ้น เน้ือเยื่อ ส่วนใบแก่มีชีวิตอยู่เลย ส่วนสูตรที่ 8, 9 และ 10 มีอัตราการปนเปื้อน

Page 10: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

12

เชื้อจุลินทรีย์ 10, 10 และ 20 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ และมีอัตราการเจริญพัฒนา 10, 10 และ 40 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ (ตารางที่ 1 และ 2 )

ตารางท่ี 1 อัตราการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย ์(contamination rate) ของชิ้นส่วนเนื้อเยื่อรากด าใบยาวที่ฟอกฆ่าเชื้อ

เมื่อเพาะเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์สูตร MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี Kinetin ระดับความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

อัตราการปนเปื้อน (เปอร์เซ็นต)์ สูตรฟอกฆ่าเชื้อ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ใบของเฟิร์นระยะใบอ่อนม้วน - - - 10 20 - - - 10 20 ใบอ่อน - - - - 10 - - 20 10 10 ใบแก่ 10 10 100 100 100 - - 10 10 20

ตารางท่ี 2 อัตราการเจริญพัฒนา (regeneration rate) ของชิ้นส่วนเนื้อเยื่อรากด าใบยาวที่ฟอกฆ่าเชื้อ เมือ่เพาะเลี้ยง

ในอาหารสังเคราะห์สูตร MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี Kinetin ระดับความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

อัตราการเจริญพัฒนา (เปอร์เซ็นต)์ สูตรฟอกฆ่าเชื้อ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ใบของเฟิร์นระยะใบอ่อนม้วน - - - - - 10 20 10 10 40 ใบอ่อน - - - - 10 10 10 10 20 90 ใบแก่ - - - - - - - 10 10 40

Page 11: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

13

ภาพท่ี 2 ต้นอ่อนรากด าใบยาวที่ผ่านการฟอกฆ่าเชื้อโดยใช้สารละลายคลอรอกซ์ระดับความเข้มข้น

0.5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 1 5 นาที ตามด้วยสารละลายเมอคิวริ คคลอไรด์ระดับความเข้มข้น 0.25 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที และเจริญพัฒนาแตกใบใหม่ในขวดเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ

2. ผลของระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะห์สูตร MS และผงถ่านกัมมันต์ที่มีต่อการ

เจริญพัฒนาของรากด าใบยาวในสภาพปลอดเชื้อ

2.1 ผลของระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะหส์ูตร MS และผงถ่านกัมมันต์ที่มีต่อการชักน าให้เกิดใบอ่อน

ผลจากการ น าชิ้น เน้ือเยื่อ ส่วนใบอ่อนมาศึกษาอิทธิพลของ 2 ปัจจัย ที่มีต่อการเจริญ

พัฒนาของรากด าใบยาวในสภาพปลอดเชื้อ ซึ่งปัจจัย A ได้แก่ อาหารสังเคราะห์สูตร MS ระดับความเข้มข้นต่างกัน 4 ระดับ คือ ¼ MS, ½ MS, ¾ MS และ MS ระดับความเข้มข้นปกติ ปัจจัย B ได้แก่ ผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้นต่างกัน 2 ระดับ คือ 0.0 และ 1.0 กรัมต่อลิตร พบว่า ระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะห์สูตร MS และผงถ่านกัมมันต์มีอิทธิพลร่วมกัน (interaction) ต่อการชักน าใหช้ิ้นเน้ือเยื่อเจริญพัฒนาเกิดใบอ่อนอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) (ตารางผนวกที่ 3 ) โดยประสิทธิภาพการเกิด ใบอ่อนขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะห์สูตร MS ร่วมกับปริมาณผงถ่านกัมมันต์

การชักน าชิ้นเน้ือเยื่อให้เกิดใบอ่อนในอาหารสังเคราะหส์ูตร MS ระดับความเข้มข้น ½ MS และ ¾ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร มีผลชักน าให้เกิดใบอ่อนได้มากกว่าการใช้ผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 0.0 กรัมต่อลิตร อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) ส่วนปริมาณอาหารสังเคราะห์

Page 12: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

14

สูตร MS ระดับความเข้มข้น ¼ MS และ MS ระดับความเข้มข้นปกติ ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 0.0 และ 1.0 กรัมต่อลิตร ไมม่ีผลต่อการชักน าให้เกิดใบอ่อนอย่างมีนัยส าคัญ (p>0.05) (ตารางที่ 3 และภาพที่ 3)

การใช้ผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 0.0 กรัมต่อลิตร ร่วมกับอาหารสังเคราะหส์ูตร MS ระดับความเข้มข้น ¼ MS, ½ MS, ¾ MS และ MS ระดับความเข้มข้นปกติ พบว่าไม่มีผลต่อการชักน าให้เกิดใบอ่อนอย่างมีนัยส าคัญ (p>0.05) ส่วนการใช้ผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ร่วมกับอาหารสังเคราะหส์ูตร MS ระดับความเข้มข้น ¼ MS, ½ MS, ¾ MS และ MS ระดับความเข้มข้นปกต ิพบว่ามีผลต่อการ ชักน าให้เกิด ใบอ่อนอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) และพบว่าการใช้ ผงถ่านกัมมันต์ ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ร่วมกับอาหารสังเคราะหร์ะดับความเข้มข้น ½ MS มีผลชักน าให้เกิด ใบอ่อนได้มากกว่า ชุดการทดลองอ่ืนอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) อย่างไรก็ตามเมื่อใช้ผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ร่วมกับอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ¾ MS และ MS พบว่าจ านวนใบอ่อนมีแนวโน้มลดลงและมีค่าใกล้เคียงกับการใชผ้งถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ร่วมกับอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ¼ MS (ตารางที่ 4 และภาพที่ 4)

การเพาะเลี้ยงชิ้นส่วนใบอ่อนของรากด าใบยาวในอาหารสังเคราะหร์ะดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับการเติมผงถ่านกัมมันต์ ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร สามารถชักน าให้เกิด ใบอ่อนได้สูงที่สุด และมีจ านวนใบอ่อนที่เกิดขึ้นแตกต่างกับชุดการทดลองอ่ืนๆ อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) โดยมีจ านวนใบอ่อนเฉลี่ย 3.790.713 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ เมื่อเลี้ยงเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ในขณะที่การเพาะเลี้ยงชิ้นส่วนใบอ่อนของรากด าใบยาวในอาหารสังเคราะห์สูตร MS ระดับความเข้มข้นปกติ โดยไม่เติม ผงถ่านกัมมันต์ มีจ านวนใบอ่อนเกิดขึ้นน้อยที่สุดเฉลี่ย 1.670.707 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ตารางท่ี 3 จ านวนใบอ่อนเฉลี่ย (MeansSD) ของรากด าใบยาวที่เจริญพัฒนาขึ้นจากชิ้นส่วนใบอ่อนซึ่งเลี้ยงใน

อาหารสังเคราะห์สูตร MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

ระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะห์สูตร MS ผงถ่านกัมมันต์ (กรัมต่อลิตร)

0.0 1.0 ¼ MS 1.890.676ns

2.060.680ns ½ MS 2.110.567b

3.790.713a ¾ MS 1.950.759b

2.500.519a MS 1.670.707ns

2.160.688ns หมายเหตุ a…b ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยตัวอักษรต่างกันในแนวนอน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)

Page 13: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

15

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

5.0

0.0 1.0ระดบัความเขม้ขน้ของผงถ่านกมัมนัต์ (กรัมต่อลิตร)

จ านว

นใบอ่

อน (ใ

บต่อชิ้

นสว่น

เนื้อเยื่

อ)

¼ MS

½ MS

¾ MS

MS

ภาพท่ี 3 อิทธิพลของระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะหส์ูตร MS และผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น

ต่างๆ กัน ที่มีต่อการชักน าให้เกิดใบอ่อนของรากด าใบยาว เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

ตารางท่ี 4 จ านวนใบอ่อนเฉลี่ย (MeansSD) ของรากด าใบยาวที่เจริญพัฒนาขึ้นจากชิ้นส่วน ใบอ่อนซึ่งเลี้ยง

ในอาหารสังเคราะห์ที่มี ผงถ่านกัมมันต์ ร่วมกับอาหารสังเคราะห์ สูตร MS ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

ผงถ่านกัมมันต์ (กรัมต่อลิตร) ระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะห์สูตร MS

¼ MS ½ MS ¾ MS MS 0.0 1.890.676ns 2.110.567ns 1.950.759ns

1.670.707ns 1.0 2.060.680b 3.790.713a 2.500.519b

2.160.688b หมายเหตุ a…b ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยตัวอักษรต่างกันในแนวนอน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)

Page 14: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

16

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

5.0

¼ MS ½ MS ¾ MS MSระดบัความเขม้ขน้ของอาหารสงัเคราะห์สตูร MS

จ านว

นใบอ่

อน (ใ

บต่อชิ้

นสว่น

เนื้อเยื่

อ)ผงถ่านกมัมนัต์ 0.0 กรัมต่อลิตรผงถ่านกมัมนัต์ 1.0 กรัมต่อลิตร

ภาพท่ี 4 อิทธิพลของผงถ่านกัมมันต์และอาหารสังเคราะหส์ูตร MS ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน ที่มีต่อการชักน า

ให้เกิดใบอ่อนของรากด าใบยาว เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

2.2 ผลของระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะหส์ูตร MS และผงถ่านกัมมันต์ที่มีต่อการชักน าให้เกิดราก

จากผลการทดลองพบว่า ระดับความเข้มข้นของ อาหารสังเคราะห์ สูตร MS และผงถ่าน กัมมันต์มีอิทธิพลร่วมกัน (interaction) ต่อการชักน าให้เกิดรากอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) (ตารางผนวกที่ 4) โดยประสิทธิภาพการเกิดรากขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะหส์ูตร MS ร่วมกับปริมาณผงถ่าน กัมมันต ์

การชักน าชิ้นเน้ือเยื่อให้เกิดรากในอาหารสังเคราะหส์ูตร MS ระดับความเข้มข้น ¼ MS, ½ MS และ ¾ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ ระดับความเข้มข้น 0.0 และ 1.0 กรัมต่อลิตร มีผลชักน าให้เกิดรากปริมาณแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) ส่วนปริมาณอาหารสังเคราะหส์ูตร MS ระดับความเข้มข้นปกติ ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ ระดับความเข้มข้น 0.0 และ 1.0 กรัมต่อลิตร ไม่ มีผลต่อการชักน าให้เกิดรากอย่างมีนัยส าคัญ (p>0.05) (ตารางที่ 5 และภาพที่ 5)

การใช้ผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 0.0 กรัมต่อลิตร ร่วมกับอาหารสังเคราะหส์ูตร MS ระดับความเข้มข้น ¼ MS, ½ MS, ¾ MS และ MS ระดับความเข้มข้นปกติ พบว่าไม่มีผลต่อการชักน าให้เกิดรากอย่างมีนัยส าคัญ (p>0.05) ส่วนการใช้ ผงถ่านกัมมันต์ ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ร่วมกับอาหารสังเคราะหส์ูตร MS ระดับความเข้มข้น ¼ MS, ½ MS, ¾ MS และ MS ระดับความเข้มข้นปกติ พบว่า มีผลต่อการชักน าให้เกิด รากอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) และพบว่า การใช้ ผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น

Page 15: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

17

1.0 กรัมต่อลิตร ร่วมกับอาหารสังเคราะหร์ะดับความเข้มข้น ½ MS มีผลชักน าให้เกิด รากได้มากกว่าชุดการทดลองอื่นอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) อย่างไรก็ตามเมื่อใช้ผงถ่านกัมมันต์ ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ร่วมกับอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ¾ MS และ MS พบว่ามีจ านวนรากมีแนวโน้มลดลงและมีค่าใกล้เคียงกับการใช้ผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ร่วมกับอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ¼ MS (ตารางที่ 6 และภาพที่ 6)

การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อรากด าใบยาวในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร สามารถชักน าให้เกิด รากได้สูงที่สุด และมีจ านวนราก ที่เกิดขึ้นแตกต่างกับชุดการทดลองอ่ืนๆ อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) โดยมีจ านวนรากเฉลี่ย 3.950.705 รากต่อชิ้น ส่วนเนื้อเยื่อ เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ในขณะที่การเพาะเลี้ยงชิ้นส่วน ใบอ่อนของรากด าใบยาวในอาหารสังเคราะห์ ระดับความเข้มข้น ¼ MS ร่วมกับการไม่เติมผงถ่านกัมมันต์ มีจ านวนรากเกิดขึ้นน้อยที่สุดเฉลี่ย 1.170.408 รากต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ

การใช้อาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร มีอิทธิพลต่อการเพิ่มจ านวน ใบอ่อนและจ านวนรากได้มากที่สุดเท่ากับ 3.790.713 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ และ 3.950.705 รากต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ตามล าดับ โดย ใบอ่อนใหม่ที่เกิดขึ้นมีลักษณะสมบูรณ ์(ภาพที่ 7) ตารางท่ี 5 จ านวนรากเฉลี่ย (MeansSD) ของรากด าใบยาวที่เจริญพัฒนาขึ้นจากชิ้นส่วน ใบอ่อนซึ่งเลี้ยงใน

อาหารสังเคราะห์สูตร MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

ระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะห์สูตร MS ผงถ่านกัมมันต์ (กรัมต่อลิตร)

0.0 1.0 ¼ MS 1.170.408b

2.310.793a ½ MS 1.630.518b

3.950.705a ¾ MS 1.300.675b

2.500.577a MS 1.330.577ns

1.780.833ns หมายเหตุ a…b ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยตัวอักษรต่างกันในแนวนอน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)

Page 16: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

18

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

5.0

0.0 1.0

ระดบัความเขม้ขน้ของผงถ่านกมัมนัต์ (กรัมต่อลิตร)

จ านว

นราก (ร

ากต่อ

ชิ้นสว่

นเนื้อ

เยื่อ)

¼ MS

½ MS

¾ MS

MS

ภาพท่ี 5 อิทธิพลของระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะหส์ูตร MS และผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น

ต่างๆ กัน ที่มีต่อการชักน าให้เกิดรากของรากด าใบยาว เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

ตารางท่ี 6 จ านวนรากเฉลี่ย (MeansSD) ของรากด าใบยาวที่เจริญพัฒนาขึ้นจากชิ้นส่วน ใบอ่อนซึ่งเลี้ยงใน

อาหารสังเคราะห์ที่มผีงถ่านกัมมันต์ร่วมกับอาหารสังเคราะหส์ูตร MS ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

ผงถ่านกัมมันต์ (กรัมต่อลิตร) ระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะห์สูตร MS

¼ MS ½ MS ¾ MS MS 0.0 1.170.408ns 1.630.518ns 1.300.675ns

1.330.577ns 1.0 2.310.793b 3.950.705a 2.500.577b

1.780.833b หมายเหตุ a…b ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยตัวอักษรต่างกันในแนวนอน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)

Page 17: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

19

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

5.0

¼ MS ½ MS ¾ MS MS

ระดบัความเขม้ขน้ของอาหารสงัเคราะห์สตูร MS

จ านว

นราก (ร

ากต่อ

ชิ้นสว่

นเนื้อ

เยื่อ)

ผงถ่านกมัมนัต์ 0.0 กรัมต่อลิตรผงถ่านกมัมนัต์ 1.0 กรัมต่อลิตร

ภาพท่ี 6 อิทธิพลของผงถ่านกัมมันต์และอาหาร สังเคราะหส์ูตร MS ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน ที่มีต่อการ

ชักน าให้เกิดรากของรากด าใบยาว เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

ภาพท่ี 7 ต้นอ่อนรากด าใบยาวเจริญพัฒนาเกิดใบอ่อนและรากในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS

ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

Page 18: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

20

3. ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีต่อการชักน าให้เกิด ใบอ่อนและรากของรากด าใบยาว ในสภาพปลอดเชื้อ

3.1 การทดลองใช้ Kinetin และ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน

3.1.1 ผลของ Kinetin และ NAA ที่มีต่อการชักน าให้เกิดใบอ่อน

ผลจากการน าชิ้นเนื้อเยื่อส่วนใบอ่อนของต้นอ่อนรากด าใบยาวมาศึกษาอิทธิพลของสาร

ควบคุมการเจริญเติบโต ที่มีผลต่อการชักน าให้เกิด ใบอ่อนและรากของรากด าใบยาวในสภาพปลอดเชื้อ จ านวน 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัย A คือ สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชในกลุ่มไซโตไคนิน ได้แก่ Kinetin ระดับความเข้มข้นต่างกัน 5 ระดับ ได้แก่ 0.0, 0.5, 1.0, 2.0 และ 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร และปัจจัย B คือ สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชในกลุ่มออกซิน ได้แก่ NAA ระดับความเข้มข้นต่างกัน 4 ระดับ ได้แก่ 0.0, 0.5, 1.0, และ 2 .0 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า Kinetin และ NAA ไม่มีอิทธิพลร่วมกัน (interaction) ต่อการชักน า ให้เกิดใบอ่อนอย่างมีนัยส าคัญ (p>0.05) อย่างไรก็ตามแต่ละปัจจัย ได้แก่ Kinetin และ NAA มีผลต่อการชักน าให้เกิดใบอ่อนของรากด าใบยาว อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) (ตารางผนวกที่ 5)

การใช้ Kinetin ระดับความเข้มข้นต่างๆ กันคือ 0.0, 0.5, 1.0, 2.0 และ 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลชักน าให้เกิดใบอ่อนปริมาณแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) โดยมีจ านวนใบอ่อนเฉลี่ย 3.841.124, 4.151.577, 4.361.350, 5.111.930 และ 4.101.558 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ตามล าดับ และการใช้ Kinetin ระดับความเข้มข้น 2.0 มิลลิกรัม ต่อลิตร สามารถชักน าให้เกิด ใบอ่อนได้มากกว่าการใช้ Kinetin ระดับ ความเข้มข้น 0.0, 0.5, 1.0 และ 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) อย่างไรก็ตามเมื่อใช้ Kinetin ระดับความเข้มข้น 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่ามีจ านวน ใบอ่อนลดลงโดยมีค่าใกล้เคียงกับการใช้ Kinetin ระดับความเข้มข้น 0.0, 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร (ตารางที่ 7 และภาพที่ 8)

การใช้ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กันคือ 0.0, 0.5, 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลชักน าให้เกิด ใบอ่อนปริมาณแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) โดยมีจ านวน ใบอ่อนเฉลี่ย 4.101.422, 5.461.656, 4.211.514 และ 3.481.220 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ตามล าดับ การใช้ NAA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลชักน าให้เกิด ใบอ่อนได้มากกว่าการใช้ NAA ระดับความเข้มข้น 0.0, 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัม ต่อลิตร อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) อย่างไรก็ตามเมื่อ ใช้ NAA ระดับความเข้มข้น 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่ามีจ านวน ใบอ่อนลดลงโดยมีค่าใกล้เคียงกับการใช้ NAA ระดับความเข้มข้น 0.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (ตารางที่ 7 และภาพที่ 9)

การทดลองเพาะเลี้ยงชิ้นส่วนใบอ่อนของรากด าใบยาวในอาหารสังเคราะหร์ะดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี Kinetin ระดับความเข้มข้ น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มขน้ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร (ภาพที่ 10) สามารถชักน าให้เกิด

Page 19: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

21

ใบอ่อนไดจ้ านวนมากที่สุด โดยมีจ านวนใบอ่อนเฉลี่ย 6.751.612 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ เมื่อเลี้ยงเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

ตารางท่ี 7 จ านวนใบอ่อนเฉลี่ย (MeansSD) ของรากด าใบยาวที่เจริญพัฒนาขึ้นจากชิ้นส่วน ใบอ่อนซึ่งเลี้ยง

ในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี Kinetin และ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

Kinetin NAA (มิลลิกรัมต่อลิตร) MeansSD

(มิลลิกรัมต่อลิตร) 0.0 0.5 1.0 2.0

0.0 3.811.047 4.211.051 3.801.317 3.331.118 3.841.124b

0.5 4.291.816 5.181.537 3.751.342 3.551.214 4.151.577b

1.0 4.271.272 5.401.140 4.331.366 3.001.000 4.361.350b 2.0 3.911.640 6.751.612 5.061.731 4.001.183 5.111.930a

4.0 4.331.414 5.501.414 4.061.434 3.211.369 4.101.558b

MeansSD 4.101.422b 5.461.656a 4.211.514b 3.481.220b หมายเหตุ a…b ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยตัวอักษรต่างกันในแนวเดียวกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)

Page 20: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

22

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

5.0

6.0

7.0

8.0

9.0

0.0 0.5 1.0 2.0 4.0ระดบัความเขม้ขน้ของ Kinetin (มลิลกิรัมต่อลติร)

จ านว

นใบอ่

อน (ใ

บต่อช

ิ้นสว่น

เนื้อเยื่

อ)NAA 0.0 มลิลกิรัมต่อลติรNAA 0.5 มลิลกิรัมต่อลติรNAA 1.0 มลิลกิรัมต่อลติรNAA 2.0 มลิลกิรัมต่อลติร

ภาพท่ี 8 จ านวนใบอ่อนเฉลี่ย (MeansSD) ของรากด าใบยาวในอาหาร สังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS

ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี Kinetin และ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

0.01.0

2.03.0

4.05.0

6.07.0

8.0

0.0 0.5 1.0 2.0

ระดบัความเขม้ขน้ของ NAA (มลิลกิรัมต่อลติร)

จ านว

นใบอ่

อน (ใ

บต่อช

ิ้นสว่น

เนื้อเยื่

อ)

Kinetin 0.0 มลิลกิรัมต่อลติรKinetin 0.5 มลิลกิรัมต่อลติรKinetin 1.0 มลิลกิรัมต่อลติรKinetin 2.0 มลิลกิรัมต่อลติรKinetin 4.0 มลิลกิรัมต่อลติร

ภาพท่ี 9 อิทธิพลของ Kinetin และ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน ที่มีต่อการชักน าให้เกิดใบอ่อนของรากด าใบยาว

เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

Page 21: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

23

ภาพท่ี 10 ต้นอ่อนรากด าใบยาวเจริญพัฒนาเกิด ใบอ่อนและรากในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น

½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี Kinetin ระดับความเข้มข้น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

3.1.2 ผลของ Kinetin และ NAA ที่มีต่อการชักน าให้เกิดราก

ผลการทดลองพบว่า Kinetin และ NAA ไม่มีอิทธิพลร่วมกัน (interaction) ต่อการชักน า

ให้ชิ้นส่วนใบอ่อนของรากด าใบยาวเจริญพัฒนาเกิด รากอย่างมีนัยส าคัญ (p>0.05) อย่างไรก็ตามแต่ละปัจจัย ได้แก่ Kinetin และ NAA มีผลต่อการชักน าให้เกิดรากของรากด าใบยาว อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) (ตารางผนวกที่ 6)

การใช้ Kinetin ระดับความเข้มข้นต่างๆ กันคือ 0.0, 0.5, 1.0, 2.0 และ 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลชักน าให้เกิด รากปริมาณแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) โดยมีจ านวน รากเฉลี่ย 3.221.447 , 3.251.400, 3.901.672 , 4.252.024 และ 3.321.547 รากต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ตามล าดับ และพบว่าการใช้ Kinetin ระดับความเข้มข้น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลชักน าให้เกิดรากแตกต่างจากชุดการทดลองที่มี Kinetin ระดับความเข้มข้น 0.0, 0.5 และ 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) แต่มีจ านวนรากไม่แตกต่างจากชุดการทดลองที่มี Kinetin ระดับความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร (p>0.05) (ตารางที่ 8 และภาพที่ 11 ) อย่างไรก็ตามเมื่อใช้ Kinetin ระดับความเข้มข้น 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่ามีจ านวนรากลดลงโดยมีค่าใกล้เคียงกับการใช้ Kinetin ระดับความเข้มข้น 0.0, 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร

การใช้ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กันคือ 0.0, 0.5, 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลชักน าให้เกิด รากปริมาณแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) โดยมีจ านวน ราก เฉลี่ย 2.561.105 ,

Page 22: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

24

3.371.429, 4.731.683, และ 3.611.611 รากต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ตามล าดับ โดยการใช้ NAA ระดับความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลชักน าให้เกิดรากแตกต่างจากชุดการทดลองอ่ืนอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) (ตารางที่ 8 และภาพที่ 12 ) อย่างไรก็ตามเมื่อใช้ NAA ระดับความเข้มข้น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่ามีจ านวนรากลดลงโดยมีค่าใกล้เคียงกับการใช้ NAA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร

การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อรากด าใบยาวในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับ ผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี Kinetin ระดับความเข้มข้น 2.0 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถชักน าให้เกิด รากได้จ านวนมาก โดยมีจ านวนราก เฉลี่ย 5.782.157 และ 4.692.024 รากต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ตามล าดับ เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ (ตารางที่ 8) ตารางท่ี 8 จ านวน รากเฉลี่ย (MeansSD) ของรากด าใบยาว ที่เจริญพัฒนาจากชิ้นส่วน ใบอ่อนในอาหาร

สังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี Kinetin และ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

Kinetin NAA (มิลลิกรัมต่อลิตร) MeansSD

(มิลลิกรัมต่อลิตร) 0.0 0.5 1.0 2.0

0.0 2.471.179 3.001.414 4.331.138 2.711.326 3.221.447b 0.5 2.500.894 3.161.344 4.311.494 3.751.288 3.251.400b

1.0 2.750.886 3.191.223 4.692.024 4.581.311 3.901.672ab

2.0 2.641.151 4.191.559 5.782.157 4.001.751 4.252.024a

4.0 2.561.365 2.801.398 4.440.984 3.131.727 3.321.547b

MeansSD 2.561.105c 3.371.429b 4.731.683a 3.611.611b หมายเหตุ a…c ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยตัวอักษรต่างกันในแนวเดียวกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)

Page 23: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

25

0.0

2.0

4.0

6.0

8.0

10.0

0.0 0.5 1.0 2.0 4.0ระดบัความเขม้ขน้ของ Kinetin (มลิลกิรัมต่อลติร)

จ านว

นราก (ร

ากต่อ

ชิ้นสว่

นเนื้อ

เยื่อ)

NAA 0.0 มลิลกิรัมต่อลติรNAA 0.5 มลิลกิรัมต่อลติรNAA 1.0 มลิลกิรัมต่อลติรNAA 2.0 มลิลกิรัมต่อลติร

ภาพท่ี 11 จ านวนรากเฉลี่ย (MeansSD) ของรากด าใบยาว ในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS

ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี Kinetin และ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

5.0

6.0

7.0

0.0 0.5 1.0 2.0ระดบัความเขม้ขน้ของ NAA (มลิลกิรัมต่อลติร)

จ านว

นราก (ร

ากต่อ

ชิ้นสว่

นเนื้อ

เยื่อ)

Kinetin 0.0 มลิลกิรัมต่อลติรKinetin 0.5 มลิลกิรัมต่อลติรKinetin 1.0 มลิลกิรัมต่อลติรKinetin 2.0 มลิลกิรัมต่อลติรKinetin 4.0 มลิลกิรัมต่อลติร

ภาพท่ี 12 อิทธิพลของ Kinetin และ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน ที่มีต่อการเกิด รากของรากด าใบยาว

เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

Page 24: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

26

3.2 การทดลองใช้ BA และ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน 3.2.1 ผลของ BA และ NAA ที่มีต่อการชักน าให้เกิดใบอ่อน ผลจากการน าชิ้นเนื้อเยื่อส่วนใบอ่อนของต้นอ่อนรากด าใบยาวมาศึกษาอิทธิพลของสาร

ควบคุมการเจริญเติบโต ที่มีผลต่อการชักน าให้เกิด ใบอ่อนและรากของรากด าใบยาวในสภาพปลอดเชื้อ จ านวน 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัย A คือ สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชในกลุ่มไซโตไคนิน ได้แก่ BA ระดับความเข้มข้นต่างกัน 5 ระดับ ได้แก่ 0.0, 0.5, 1.0, 2.0 และ 4 .0 มิลลิกรัมต่อลิตร และปัจจัย B คือ สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชในกลุ่มออกซิน ได้แก่ NAA ระดับความเข้มข้นต่างกัน 4 ระดับ ได้แก่ 0.0, 0.5, 1.0, และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า BA และ NAA ไม่มีอิทธิพลร่วมกัน (interaction) ต่อการชักน าให้เกิดใบอ่อนอย่างมีนัยส าคัญ (p>0.05) อย่างไรก็ตามแต่ละปัจจัย ได้แก่ BA และ NAA มีผลต่อการชักน าให้เกิดใบอ่อนของรากด าใบยาว อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) (ตารางผนวกที่ 7)

การใช้ BA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กันคือ 0.0, 0.5, 1.0, 2.0 และ 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลชักน าให้เกิด ใบอ่อนปริมาณแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) โดย มีผลท าให้เกิด ใบอ่อนเฉลี่ย 2.741.163, 3.551.730, 3.321.455, 2.781.511 และ 2.811.468 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ตามล าดับ โดยการใช้ BA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถชักน าให้เกิด ใบอ่อนได้มากกว่าการใช้ BA ระดับความเข้มข้น 0.0 มิลลิกรัมต่อลิตร อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) (ตารางที่ 9 และภาพที่ 13)

การใช้ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กันคือ 0.0, 0.5, 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลชักน าให้เกิด ใบอ่อน ปริมาณแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) โดยมีจ านวน ใบอ่อน เฉลี่ย 2.651.476, 3.411.667, 3.051.408 และ 3.071.254 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ตามล าดับ โดยการใช้ NAA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลชักน าให้เกิด ใบอ่อนได้แตกต่างจาก NAA ระดับความเข้มข้ น 0.0 มิลลิกรัมต่อลิตร อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) (ตารางที่ 9 และภาพที่ 14)

การทดลองเพาะเลี้ยงชิ้นส่วน ใบอ่อนของรากด าใบยาว ในอาหารสังเคราะห์ ระดับความเข้มข้น ½ MS และผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี BA ระดับความเข้มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร (ภาพที่ 15) สามารถชักน าให้เกิด ใบอ่อนได้จ านวนมาก โดยมีจ านวนใบอ่อนเฉลี่ย 4.311.740 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ เมื่อเลี้ยงเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ในขณะที่การ ไม่ใส่ BA และ NAA มีใบอ่อน เกิดขึ้นจ านวนน้อย โดยมีจ านวน ใบอ่อน เฉลี่ย 2.001.128 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ

Page 25: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

27

ตารางท่ี 9 จ านวนใบอ่อนเฉลี่ย (MeansSD) ของรากด าใบยาวที่เจริญพัฒนาขึ้นจากชิ้นส่วน ใบอ่อนซึ่งเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี BA และ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

BA NAA (มิลลิกรัมต่อลิตร) MeansSD

(มิลลิกรัมต่อลิตร) 0.0 0.5 1.0 2.0

0.0 2.001.128 3.001.240 3.131.025 2.500.577 2.741.163b

0.5 2.611.685 4.311.401 4.001.000 3.901.287 3.551.626a

1.0 3.191.682 3.631.708 3.401.350 3.111.079 3.321.455ab

2.0 2.471.068 3.001.715 2.951.682 2.251.500 2.781.511ab

4.0 2.871.552 3.001.595 2.691.493 2.701.337 2.811.468ab

MeansSD 2.651.476b 3.411.601a 3.051.408ab 3.071.254ab

หมายเหตุ a…c ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยตัวอักษรต่างกันในแนวเดียวกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

5.0

6.0

0.0 0.5 1.0 2.0 4.0ระดบัความเขม้ขน้ของ BA (มลิลกิรัมต่อลติร)

จ านว

นใบอ่

อน (ใ

บต่อช

ิ้นสว่น

เนื้อเยื่

อ)

NAA 0.0 มลิลกิรัมต่อลติรNAA 0.5 มลิลกิรัมต่อลติรNAA 1.0 มลิลกิรัมต่อลติรNAA 2.0 มลิลกิรัมต่อลติร

ภาพท่ี 13 จ านวนใบอ่อนเฉลี่ย (MeansSD) ของรากด าใบยาวในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS

ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี BA และ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

Page 26: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

28

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

5.0

6.0

0.0 0.5 1.0 2.0

ระดบัความเขม้ขน้ของ NAA (มลิลกิรัมต่อลติร)

จ านว

นใบอ่

อน (ใ

บต่อช

ิ้นสว่น

เนื้อเยื่

อ)BA 0.0 มลิลกิรัมต่อลติรBA 0.5 มลิลกิรัมต่อลติรBA 1.0 มลิลกิรัมต่อลติรBA 2.0 มลิลกิรัมต่อลติรBA 4.0 มลิลกิรัมต่อลติร

ภาพท่ี 14 อิทธิพลของ BA และ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน ที่มีต่อการชักน าให้เกิดใบอ่อนของรากด าใบยาว

เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

ภาพท่ี 15 ต้นอ่อนรากด าใบยาวเจริญพัฒนาเกิด ใบอ่อนและรากในอาหารสังเคราะห์ ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี BA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

Page 27: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

29

3.2.2 ผลของ BA และ NAA ที่มีต่อการชักน าให้เกิดราก ผลการทดลองพบว่า BA และ NAA ไม่มีอิทธิพลร่วมกัน (interaction) ต่อการชักน า ให้

ชิ้นส่วนใบอ่อนของรากด าใบยาวเจริญพัฒนาเกิดรากอย่างมีนัยส าคัญ (p>0.05) อย่างไรก็ตามแต่ละปัจจัย ได้แก่ BA และ NAA มีผลต่อการชักน าให้เกิดรากของรากด าใบยาว อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) (ตารางผนวกที่ 8)

การใช้ BA ระดับความเข้มข้น 0.0, 0.5, 1.0, 2.0 และ 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถชักน าให้เกิดรากได้แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) โดยมีจ านวนรากเฉลี่ย 3.331.700, 4.902.132, 4.521.898, 3.891.716 และ 3.371.616 รากต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ตามล าดับ โดยการใช้ BA ระดับความเข้มข้น 0.5 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถชักน าให้เกิดรากได้ดีกว่าการใช้ BA ระดับความเข้มข้น 0.0 และ 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) (ตารางที่ 10 และภาพที่ 16)

การใช้ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กันคือ 0.0, 0.5, 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลชักน าให้เกิดรากปริมาณแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) โดยมีจ านวนรากเฉลี่ย 2.941.340, 4.732.202, 3.901.672 และ 3.741.689 รากต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ตามล าดับ โดยการใช้ NAA ระดับความเข้มข้น 0.5, 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลชักน าให้เกิดรากแตกต่างกับการไม่ใส่ NAA อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) (ตารางที่ 10 และภาพที่ 17)

การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อรากด าใบยาวในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับ ผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี BA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถชักน าให้เกิดรากได้จ านวนมาก โดยมีจ านวนรากเฉลี่ย 6.312.056 รากต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อเป็น ระยะเวลา 12 สัปดาห์ ในขณะที่การใช้ NAA ระดับความเข้มข้น 0.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับการใส่ BA ระดับความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีรากเกิดขึ้นจ านวนน้อย โดยมีจ านวนรากเฉลี่ย 2.671.528 รากต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ

Page 28: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

30

ตารางท่ี 10 จ านวนรากเฉลี่ย (MeansSD) ของรากด าใบยาว ที่เจริญพัฒนาจากชิ้นส่วน ใบอ่อนในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี BA และ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

BA NAA (มิลลิกรัมต่อลิตร) MeansSD

(มิลลิกรัมต่อลิตร) 0.0 0.5 1.0 2.0

0.0 2.750.500 3.471.885 3.331.871 3.331.723 3.331.700b

0.5 2.901.729 6.312.056 4.711.637 4.201.740 4.902.132a

1.0 2.671.528 5.441.965 4.401.454 3.801.932 4.521.898a

2.0 3.001.000 4.061.948 3.801.874 3.941.560 3.891.716ab

4.0 3.091.375 4.172.082 3.071.280 3.181.601 3.371.616b

MeansSD 2.941.340b 4.732.202a 3.901.672a 3.741.689a

หมายเหตุ a…b ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยตัวอักษรต่างกันในแนวเดียวกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)

0.0

2.0

4.0

6.0

8.0

10.0

0.0 0.5 1.0 2.0 4.0ระดบัความเขม้ขน้ของ BA (มลิลกิรัมต่อลติร)

จ านว

นราก (ร

ากต่อ

ชิ้นสว่

นเนื้อ

เยื่อ)

NAA 0.0 มลิลกิรัมต่อลติรNAA 0.5 มลิลกิรัมต่อลติรNAA 1.0 มลิลกิรัมต่อลติรNAA 2.0 มลิลกิรัมต่อลติร

ภาพท่ี 16 จ านวนรากเฉลี่ย (MeansSD) ของรากด าใบยาว ในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS

ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี BA และ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

Page 29: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

31

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

5.0

6.0

7.0

0.0 0.5 1.0 2.0ระดบัความเขม้ขน้ของ NAA (มลิลกิรัมต่อลติร)

จ านว

นราก (ร

ากต่อ

ชิ้นสว่

นเนื้อ

เยื่อ)

BA 0.0 มลิลกิรัมต่อลติรBA 0.5 มลิลกิรัมต่อลติรBA 1.0 มลิลกิรัมต่อลติรBA 2.0 มลิลกิรัมต่อลติรBA 4.0 มลิลกิรัมต่อลติร

ภาพท่ี 17 อิทธิพลของ BA และ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน ที่มีต่อการเกิด รากของรากด าใบยาว

เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

4. ผลการปลูกทดสอบ ต้นรากด าใบยาวที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อใน โรงเรือนเพาะช าพรรณไม้น้ าโดยใช้ระบบปลูกโดยไม่ใช้ดิน

ต้นอ่อนรากด าใบยาวปลอดเชื้อที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่ออายุ 12 สัปดาห์ มีน้ าหนักเร่ิมต้นเฉลี่ย 0.100.073 กรัมต่อต้น จ านวนใบเฉลี่ย 9.523.724 ใบต่อต้น และความสูงต้นเฉลี่ย 2.170.672 เซนติเมตร เมื่อน าออกปลูกทดสอบในระบบปลูกโดยไม่ใช้ดิน เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห ์พบว่าต้นรากด าใบยาวมีการเจริญเติบโตได้ดี โดยมีน้ าหนักเฉลี่ย 0.750.420 กรัมต่อต้น มีจ านวนใบเฉลี่ย 15.914.427 ใบต่อต้น มีความสูงต้นเฉลี่ย 6.241.450 เซนติเมตร และมีอัตรารอด 100% ต้นอ่อนมีการเจริญเติบโตมีน้ าหนักเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 0.650.420 กรัมต่อต้น มีจ านวนใบเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 6.394.427 ใบต่อต้น และความสูงต้นที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 4.071.450 เซนติเมตร (ตารางที่ 11 และภาพที่ 18)

ผลการตรวจวัดความเข้มแสงบริเวณบ่อปลูกทดสอบรากด าใบยาว เวลา 09.00 น. ของทุกวันในระหว่างการเลี้ยง พบว่ามีความเข้มแสงเฉลี่ย 1,150.68488.369 ลักซ์ และผลการตรวจวิเคราะห์คุณสมบัติของน้ าในบ่อทุกๆ 2 สัปดาห์ เวลา 09.00 น. พบว่า อุณหภูมิของน้ ามีค่า เฉลี่ย 28.240.254 องศาเซลเซียส ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ ามีค่า เฉลี่ย 6.990.290 มิลลิกรัม ต่อลิตร ปริมาณ แอมโมเนีย รวมมีค่าเฉลี่ย2.57 0.554 มิลลิกรัม ต่อลิตร ปริมาณ ไนไตร ท์มีค่าเฉลี่ย 0.38 0.252 มิลลิกรัม ต่อลิตร ปริมาณ ไนเตร ท มีค่าเฉลี่ย 42.251.792 มิลลิกรัมต่อลิตร และปริมาณออร์โธฟอสเฟตมีค่าเฉลี่ย 13.260.681 มิลลิกรัมต่อลิตร (ตารางที่ 12)

Page 30: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

32

ตารางท่ี 11 การเจริญเติบโตของรากด าใบยาวที่ปลูกโดยไม่ใช้ดินเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

การเจริญเติบโต MeansSD ค่าเฉลี่ยเร่ิมต้น ค่าเฉลี่ยสุดท้าย ค่าเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น น้ าหนัก (กรัม) จ านวนใบ (ใบ/ต้น) ความสูงต้น (เซนติเมตร) อัตรารอด (%)

0.100.073 9.523.724 2.170.672

100

0.750.420 15.914.427 6.241.450

100

0.650.420 6.394.427 4.071.450

-

ตารางท่ี 12 ค่าพิสัยและค่าเฉลี่ย (MeansSD) ของความเข้มแสงและคุณสมบัติของน้ าในระบบปลูกโดยไม่ใช้ดิน

ความเข้มแสงและคุณสมบัติของน้ า ค่าพิสัย MeansSD

(ค่าต่ าสุด – สูงสุด)

ความเข้มแสง (ลักซ)์ 525-1,998 1,150.68488.369

อุณหภูมขิองน้ า (องศาเซลเซียส) 27.90-28.90 28.240.254

ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ า (มิลลิกรัมต่อลิตร) 6.80-8.00 6.990.290 ปริมาณแอมโมเนียรวม (มิลลิกรัมต่อลิตร) 1.79-3.61 2.570.554

ปริมาณไนไตรท์ (มิลลิกรัมต่อลิตร) 0.11-0.75 0.380.252

ปริมาณไนเตรท (มิลลิกรัมต่อลิตร) 40.00-44.63 42.251.792

ปริมาณออร์โธฟอสเฟต (มิลลิกรัมต่อลิตร) 12.55-14.64 13.260.681

Page 31: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

33

ภาพท่ี 18 รากด าใบยาวที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ และปลูกเลี้ยงในระบบการให้สารละลายธาตุอาหารพืชไหลผ่านรากพืชในระดับลึก เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

วิจารณ์ผล

การใช้ชิ้นส่วนใบอ่อนมาผ่านการฟอกฆ่าเชื้อ ตามสูตรที่ 10 โดยใช้ สารละลาย คลอรอกซ์

ระดับความเข้มข้น 0.5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 15 นาที ตามด้วยสารละลายเมอคิวริคคลอไรด์ระดับความเข้มข้น 0.25 เปอร์เซ็นต ์เป็นเวลา 10 นาที เป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการฟอกฆ่าเชื้อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อรากด าใบยาว ซึ่งมีอัตราการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ 10 เปอร์เซ็นต ์และมีอัตราการเจริญพัฒนา 9 0 เปอร์เซ็นต์ จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า การใช้สารละลาย คลอรอกซ์ ร่วมกับสารละลายเมอคิวริ คคลอไรด์ สามารถลดการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ และชิ้นส่วนเนื้อเยื่อสามารถเจริญพัฒนาโดยแตกใบใหม่ ได้ดีกว่าการฟอกฆ่าเชื้อด้วยสารละลาย คลอรอกซ์ เพียงอย่างเดียว และพบว่า สารละลายเมอคิวริ คคลอไรด์มีประสิทธิภาพในการก าจัดเชื้อจุลินทรีย์โดยไม่ท าลายชิ้นส่วนเนื้อเยื่อส่วนใบอ่อนท าให้ชิ้นส่วนใบอ่อนสามารถเจริญพัฒนาโดยแตกใบใหม่ได้ดีที่สุด การที่ชิ้นส่วนเนื้อเยื่อส่วน ใบอ่อนสามารถเจริญพัฒนาได้ดีที่สุดเนื่องจาก ชิ้นส่วน ใบอ่อนเป็นเนื้อเยื่อพืช ซึ่งมีความสะอาดและเป็นระยะ ที่ก าลังมีการเจริญเติบโต ซึ่งมี meristematic cells สามารถน ามาเพาะเลี้ยงและชักน าให้เกิดการเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงเป็นต้นและรากได้ดี ในอาหารสังเคราะห์ (บุญยืน , 2544) อย่างไรก็ตาม เมื่อใช้สารฟอกฆ่าเชื้อ ที่มีระดับความเข้มข้นสูงขึ้น ได้แก่ สูตรที่ 6 และ 7 โดยใช้สารละลายคลอรอกซร์ะดับความเข้มข้น 8 และ 4 เปอร์เซ็นต ์ตามล าดับ เป็นเวลา 15 นาที ตามด้วยสารละลายเมอคิวริคคลอไรด์ระดับความเข้มข้น 4 และ 2 เปอร์เซ็นต ์ตามล าดับ เป็นเวลา 10 นาท ีพบว่าสามารถขจัดเชื้อจุลินทรีย์ที่ผิวของชิ้นเนื้อเยื่อ รากด าใบยาว ได้ แต่ชิ้นเน้ือเยื่อมีอัตราการเจริญพัฒนา

Page 32: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

34

แตกใบใหม่ 10 เปอร์เซ็นต์ เน่ืองจากการใช้สารฟอกฆ่าเชื้อที่มีความเข้มข้นสูงเกินไป สามารถ ท าลาย ชิ้นเน้ือเยื่อได้ ส าหรับชิ้นส่วนใบอ่อนระยะใบม้วนและ ใบแก่ พบว่า การฟอกฆ่าเชื้อ ตามสูตรที่ 10 มีอัตราการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ 20 เปอร์เซ็นต์ และมีอัตราการเจริญพัฒนา 40 เปอร์เซ็นต์ โดยความเข้มข้นของสารฟอกฆ่าเชื้อสามารถ ท าลายชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ท าให้สีของใบเปลี่ยน จากสีเขียวเป็น สีน้ าตาล และชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ไม่สามารถเจริญพัฒนา ได้ ผลจากการทดลองสอดคล้องกับ มณีรัตน์ ( 2540) พบว่า การฟอกฆ่าเชื้อชิ้นส่วนยอดของอนูเบียส ( Anubias nana)โดยใช้สารละลายคลอรอกซ์ระดับความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 15 นาที ตามด้วยสารละลาย เมอคิวริคคลอไรด์ระดับความเข้มข้น 0.1 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที มีอัตรารอดสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์ เช่นเดียวกับ วรสา (2548) พบว่า การฟอกฆ่าเชื้อตายอดของต้นใบพาย (Cryptocoryne cordata) ด้วยสารละลายคลอรอกซร์ะดับความเข้มข้น 5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 20 นาที ตามด้วยสารละลายเมอคิวริ คคลอไรด์ระดับความเข้มข้น 0.2 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที สามารถลดการปนเปื้อนจุลินทรีย์ ได้ดีที่สุด และเป็นไปในทิศทางเดียวกับผลการศึกษาของ กาญจนรีและคณะ (2542) พบว่าการฟอกฆ่าเชื้อผมหอม (Cryptocoryne tonkinensis) โดยใช้สารละลายคลอรอกซ์ระดับความเข้มข้น 4 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 20 นาที ตามด้วยสารละลายเมอคิวริคคลอไรด์ระดับความเข้มข้น 2 เปอร์เซ็นต ์เป็นเวลา 10 นาที มีผลให้ชิ้นเน้ือเยื่อของผมหอมมีอัตราการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ 10 เปอร์เซ็นต์ และมีอัตรารอด 90 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นจากการทดลองครั้งนี้การใช้ ชิ้นส่วนใบอ่อนมาผ่านการฟอกฆ่าเชื้อโดยใช้สารละลาย คลอรอกซ์ระดับความเข้มข้น 0.5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 15 นาที ตามด้วยสารละลายเมอคิวริ คคลอไรด์ระดับความเข้มข้น 0.25 เปอร์เซ็นต ์เป็นเวลา 10 นาที จึงเป็นระดับที่เหมาะสมต่อการฟอกฆ่าเชื้อรากด าใบยาว

ผลจากการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อชิ้นส่วนใบอ่อนของรากด าใบยาวด้วยอาหารสังเคราะห์สูตร MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า อาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร มีอิทธิพลต่อการเพิ่มจ านวนใบอ่อนและจ านวนรากได้มากที่สุดเท่ากับ 3.790.713 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ และ 3.950.705 รากต่อชิ้นส่วนเน้ือเยื่อ ตามล าดับ โดย ใบอ่อนที่เกิดขึ้นใหม่มีลักษณะสมบูรณ์ ไม่แสดงลักษณะอาการบวม อวบน้ า หรือแสดงอาการขาดธาตุอาหารที่จ าเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น อาการใบเหลือง ใบซีดหรือมีจุดตายบนใบ (ยงยุทธ, 2546) นอกจากนี้การใช้อาหารสังเคราะห์สูตร MS ระดับความเข้มข้น ¾ MS และ MS ระดับความเข้มข้นปกติ ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร พบว่าจ านวน ใบอ่อนและราก มีแนวโน้มลดลง โดยมีค่าใกล้เคียงกับการใช้อาหารสังเคราะห์สูตร MS ระดับความเข้มข้น ¼ MS ร่วมกับ ผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร Bhojwani and Razdan (1996) กล่าวว่า การชักน าให้เกิดยอดและรากจากชิ้นส่วนของพืชหลายชนิดสามารถเกิดขึ้นได้ดีเมื่อเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ระดับ ความเข้มข้น ½ MS หรือ ¼ MS ทั้งนี้เนื่องจากอาหารสังเคราะห์สูตร MS เป็นสูตรอาหารที่ใช้ในการทดลองเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ ต้นยาสูบ (Murashige and Skoog, 1962) และนิยมใช้เป็นสูตรอาหารพื้นฐานในการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืชหลายชนิดโดยเฉพาะในพืชชั้นสูงซึ่งต้องการธาตุอาหารในปริมาณมาก ส่วนรากด าใบยาวจัดเป็นพืชชั้นต่ า อาจ มีความต้องการธาตุอาหาร ในปริมาณน้อยกว่า การที่พืชได้รับปริมาณอาหารมากเกินไป

Page 33: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

35

โดยเฉพาะธาตุไนโตรเจน มีผลให้มีการเจริญเติบโตช้า ส่วนการได้รับฟอสฟอรัสมากเกินไป ท าให้จุลธาตุโดยเฉพาะเหล็กและสังกะสีไม่อยู่ในรูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (Hopkins and Huner, 2004) แต่หากพืชได้รับธาตุอาหารไม่เพียงพอ พืชจะแสดงอาการผิดปกติออกมา ซึ่งเป็นอาการเฉพาะของธาตุน้ัน (ยงยุทธ, 2546) นอกจากนี้หากพิจารณาถึงการเจริญเติบโตของรากด าใบยาวในแหล่งธรรมชาติซึ่งมักพบตามบริเวณน้ าตกหรือล าธารต้นน้ าซึ่งมีธาตุอาหารต่ า ท าให้ในการเจริญเติบโตบนอาหารสังเคราะห์อาจไม่ต้องการปริมาณอาหารในระดับที่มีความเข้มข้นสูง ผลจากการทดลองสอดคล้องกับ Cao et al. (2006) พบว่า ชิ้นส่วนยอดของต้นวาซาบ ิ(Wasabia japonica) ที่เลี้ยงบนอาหารเหลวระดับความเข้มข้น ½ MS มีผลต่อการเพิ่มจ านวนยอดได้มากกว่าการเลี้ยง บนอาหารเหลวสูตร MS ระดับความเข้มข้นปกติ และระดับความเข้มข้น ¼ MS อย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05) การใช้อาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ ระดับ ความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร สามารถชักน าให้เกิดใบอ่อนและรากได้มากกว่าการไม่เติมผงถ่านกัมมันต์ ทั้งนี้เน่ืองจากในการตัดชิ้นส่วนพืชเพื่อการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อมักเกิดบาดแผลหรือพืชอาจปล่อย สารสี (phenolic compound) ซึ่งสารน้ีเป็น secondary metabolite ได้จากกระบวนการ shikimic acid พบในช่องว่างระหว่างเซลล์มีผลในการยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช เมื่อถูกออกซิไดซ์โดยท าให้ท่อล าเลียงอุดตันได้ง่าย และยับยั้งการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อและท าให้เนื้อเยื่อพืชมีสีด า (จิรพันธ์, 2546) การใช้ผงถ่านกัมมันต์ซึ่งมีรูพรุนขนาดเล็กที่เชื่อมต่อกันอยู่มากมาย สามารถดูดซับ ของเสียต่างๆ ที่อยู่ในอาหารสังเคราะห์ รวมถึงสารสี ที่เนื้อเยื่อพืชปล่อยออกมาได้เป็นอย่างดีโดยยึดไว้ในผิวรูพรุนดังกล่าว นอกจากนี้ผงถ่านกัมมันต์ช่วยกรองแสง ท าให้แสงผ่านเข้าไปในอาหารสังเคราะห์น้อย เกิดการเปลี่ยนสภาพจากที่สว่างเป็นที่มืด ท าให้เกิดการชักน าให้เกิดการเพิ่มจ านวนรากมากยิ่งขึ้น การที่พืชมีจ านวนรากในปริมาณที่เหมาะสมท าให้สามารถน าธาตุอาหารไปใช้ในการเจริญเติบโตได้ดีขึ้น (มณฑา, 2542) สอดคล้องกับผลการศึกษาของ กวี ( 2533) พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติมผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร มีผลให้ความสูงต้นเฉลี่ยความยาวรากเฉลี่ย และน้ าหนักสดเฉลี่ยของต้นอ่อนกล้วยพันธุ์ Grand Nain สูงกว่าที่เลี้ยงบนอาหาร สูตร MS ที่ไม่เติมผงถ่านกัมมันต์ เช่นเดียวกับ Hwang et al. (1984) พบว่า อาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติมผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ท าให้ต้นอ่อนกล้วยพัฒนาเกิดรากได้มากขึ้นโดยมีจ านวนราก 3.58 รากต่อชิ้นส่วนเน้ือเยื่อ ซึ่งจากการศึกษาคร้ังนี้หากพิจารณาในเชิงการค้าแล้ว พบว่า การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อรากด าใบยาวในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ท าให้ต้นทุนการผลิตต่ ากว่าการใช้อาหารสังเคราะห์สูตร MS ระดับความเข้มข้นปกติ และ ¾ MS ทั้งนี้เนื่องจากใช้ธาตุอาหารในปริมาณที่น้อยกว่า แต่ให้ผลที่แตกต่างกับการใช้สารอาหารในปริมาณมาก ดังนั้นระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะห์ที่เหมาะสมส าหรับการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อรากด าใบยาว คือ ปริมาณอาหารสังเคราะห์ ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ ระดับ ความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร สามารถชักน าให้เกิด ใบอ่อนและราก ได้มากที่สุด โดยมีจ านวน ใบอ่อนเฉลี่ย 3.790.713 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ และมีจ านวนรากที่เกิดขึ้นเฉลี่ย และ 3.950.705 รากต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ

ผลการศึกษาการเพิ่มปริมาณ ใบอ่อนจ านวนมาก โดยน าชิ้นส่วนใบอ่อนปลอดเชื้อจุลินทรีย์ ของรากด าใบยาวมาเพาะเลี้ยงในอาหาร สังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับ

Page 34: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

36

ความเข้มข้น 1.0 กรัม ต่อลิตร ที่ประกอบด้วยสารควบคุมการเจริญเติบโต 2 กลุ่ม คือ กลุ่มไซโตไคนิน ได้แก่ Kinetin และ BA ระดับความเข้มข้นต่างกัน 5 ระดับ คือ 0.0, 0.5, 1.0, 2.0 และ 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับสารควบคุมการเจริญเติบโตกลุ่มออกซิน คือ NAA ระดับความเข้มข้นต่างกัน 4 ระดับ คือ 0.0, 0.5, 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เมื่อเลี้ยงเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ พบว่า สารควบคุมการเจริญเติบโตทั้ง 2 กลุ่ม มีอิทธิพลต่อการชักน าให้ชิ้นส่วน ใบอ่อนเจริญพัฒนาเกิด ใบอ่อนขึ้นใหม่จ านวนมากในอาหารสังเคราะห์ เน่ืองจากเนื้อเยื่อหรือชิ้นส่วนพืชส่วนมาก เปลี่ยนแปลงพัฒนาเป็นอวัยวะได้ ถ้าได้รับฮอร์โมน 2 กลุ่ม คือ ออกซินและไซโตไคนินในอัตราส่วนที่เหมาะสม (รังสฤษดิ์, 2540)

ในการศึกษาครั้งน้ีพบว่า การใช้ Kinetin ระดับความเข้มข้น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถชักน าให้เกิดใบอ่อนได้มากที่สุดเฉลี่ย 6.751.612 ใบ ต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ภายในระยะเวลา 12 สัปดาห์ เน่ืองจากการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตกลุ่มไซโตไคนิน และออกซินในสัดส่วนที่เหมาะสมส าหรับพืชแต่ละชนิด มีผลให้ชิ้นส่วนพืชเจริญพัฒนาเกิดใบอ่อนจ านวนมาก สอดคล้องกับผลการศึกษาของ วรางคณา (2552) พบว่า การเติม Kinetin ระดับความเข้มข้น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ IAA ระดับความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ในอาหารสังเคราะห์สูตร MS สามารถชักน าให้ชิ้นส่วนเน้ือเยื่อไส้ปลาไหล (Barclaya longifolia) เจริญพัฒนาเกิดต้นอ่อนได้มากที่สุดเฉลี่ย 2.520.56 ต้นต่อชิ้นส่วนเน้ือเยื่อ และท าให้แตกใบใหม่เกิดขึ้นเฉลี่ย 33.504.09 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ภายในระยะเวลา 8 สัปดาห์ แตกต่างจากผลการศึกษาของ รงรอง ( 2528) ซึ่งขยายพันธุ์เฟิร์นกลอกซีเนีย ( Sinningia speciosa) ในสภาพปลอดเชื้อ พบว่า ชิ้นส่วนเน้ือเยื่อสามารถเจริญเติบโตได้ในอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม Kinetin เพียงอย่างเดียวระดับความเข้มข้น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร เช่นเดียวกับ กาญจนรี และณฐกร (2547) ซึ่งเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่ออนูเบียส (Anubias nana) พบว่า ชิ้นส่วนเนื้อเยื่อสามารถเจริญเติบโตได้ในอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม Kinetin เพียงอย่างเดียวระดับความเข้มข้น 16 ไมโครโมลาร์ สามารถชักน าให้เกิดยอดได้สูงที่สุด โดยมีจ านวนยอดเฉลี่ย 3.300.048 ยอดต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ

ผลการใช้ BA ร่วมกับ NAA พบว่า BA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระดับความเข้มข้นที่ สามารถชักน าให้เกิด ใบอ่อนได้มากที่สุดเฉลี่ย 4.311.740 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ภายในระยะเวลา 12 สัปดาห์ ผลการทดลองสอดคล้องกับ ณฐกร และกาญจนรี (2547) ซึ่งท าการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อชบาน้ า (Aponogeton madagascariensis) พบว่า BA ระดับความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นระดับความเข้มข้นที่สามารถชักน าให้เกิดต้นอ่อนของชบาน้ าได้มากที่สุดเฉลี่ย 8.100.994 ต้นต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ และเป็นไปในทิศทางเดียวกับ Zhou et al. (2006) ซึ่งเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อดีปลีน้ า (Potamogeton crispus) บนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม BA ระดับความเข้มข้น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ IAA ระดับความเข้มข้น 0.2 และ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ท าให้เนื้อเยื่อสามารถพัฒนาเกิดเป็นต้นอ่อนได้มากที่สุด ส่วนการเพาะเลี้ยงชิ้นส่วนเนื้อเยื่อเฟิร์นใบมะขามกูดสร้อย (Nephrolepis cordifolia) เฟิร์นข้าหลวงหลังลาย (Asplenium nidus) เฟิร์นก้านด า (Adiantum raddianum) และเฟิร์นใบหนัง (Arachniodes adiantiformis) ในอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติม BA

Page 35: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

37

พบว่า การเติม BA ท าให้ชิ้นเนื้อเยื่อเกิดลักษณะเป็นก้อนกลมสีเขียว เรียกว่า green globular bodies (GGB) และชิ้นส่วน GGB สามารถเจริญเป็นต้นได้เมื่อเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ที่ไม่เติม BA (Amaki and Higuchi, 1991)

อย่างไรก็ตาม จากการทดลองพบว่าการใช้ Kinetin มีแนวโน้มการเกิด ใบอ่อนได้สูงกว่า BA แตกต่างจากผลการทดลองในเนื้อเยื่อพืชบางชนิดที่พบว่า BA มีประสิทธิภาพสูงกว่า Kinetin ในการชักน าให้เกิดยอดในปริมาณมาก เช่น วันเพ็ญ ( 2547) ได้ เพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพรรณไม้น้ า บอนแดง (Cryptocoryne blassii) บนอาหารสังเคราะห์สูตร MS ที่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโตกลุ่มไซโตไคนิน ได้แก่ BA และ Kinetin ร่วมกับออกซิน ได้แก่ NAA และ 2, 4-D ระดับความเข้มข้น 0.0 และ 1.0 ไมโครโมลาร์ พบว่า การใช้ BA ระดับความเข้มข้น 4.0 ไมโครโมลาร์ ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้น 1.0 ไมโครโมลาร์ สามารถชักน าให้เกิดยอดได้มากที่สุด 5.900.867 ยอดต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ มีรากเกิดขึ้นเฉลี่ย 2.101.370 รากต่อชิ้นส่วนเน้ือเยื่อ ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ Geier (1990) ท าการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อต้นหน้าวัว (Anthurium scherzerianum) พบว่า BA ระดับความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถเพิ่มปริมาณยอดได้จ านวนมาก ในขณะที่ต้องใช้ Kinetin ในระดับความเข้มข้นที่สูงกว่า คือ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร จึงสามารถชักน าให้เกิดยอดจ านวนมากได้

ผลการทดลองพบว่า การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชในกลุ่มไซโตไคนินทั้ง 2 ชนิด คือ Kinetin ระดับความเข้มข้นสูงกว่า 2 มิลลิกรัมต่อลิตร และ BA ระดับความเข้มข้นสูงกว่า 1 มิลลิกรัมต่อลิตร มีผลให้การเกิดรากมีแนวโน้มลดลง สอดคล้องกับ วันเพ็ญ ( 2547) ซึ่งได้ศึกษาผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีต่อการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อบอนแดง พบว่า การเพิ่ม ระดับความเข้มข้นของ Kinetin และ BA มีผลให้การเกิดรากลดลงอย่างมีนัยส าคัญ (p<0.05)

อย่างไรก็ตามการขยายพันธุ์ด้วยเทคนิคเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อจะประสบความส าเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับการขยายให้ได้จ านวน ใบอ่อนที่มากพอและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้สามารถเพิ่มปริมาณต้นอ่อนจ านวนมากได้โดยไม่จ าเป็นต้องเกิดรากปริมาณมาก (รังสฤษดิ์, 2540) การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อโดยใช้อาหารสังเคราะห์ที่มีสารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุ่มไซโตไคนินและออกซินในสัดส่วนที่เหมาะสม ส่งผลให้เกิดการแบ่งเซลล์ได้ดีขึ้น ดังนั้น การใช้ Kinetin ระดับความเข้มข้น 2.0 มิลลิกรัม ต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร สามารถชักน าให้เกิดใบอ่อนได้มากที่สุด โดยมีจ านวนใบอ่อนเกิดขึ้นเฉลี่ย 6.751.612 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ และมีรากเกิดขึ้นเฉลี่ย 4.191.559 รากต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ จึงเป็นระดับความเข้มข้นที่เหมาะสมส าหรับการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อรากด าใบยาว

ผลการน าต้นอ่อน รากด าใบยาว ที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่ออายุ 12 สัปดาห์ ออกปลูกทดสอบในระบบที่มีการให้สารละลายธาตุอาหารพืช ในระดับลึกโดยใช้ใยหินเป็นวัสดุปลูก พบว่า ต้นอ่อน รากด าใบยาว สามารถเจริญเติบโตได้ดีเมื่อน ามาปลูก ทดสอบในระบบปลูกโดยไม่ใช้ดินในสภาพแวดล้อม ที่มีความเข้มแสงเฉลี่ย 1,150.68488.369 ลักซ์ ซึ่งอยู่ในระดับที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของรากด าใบยาวซึ่งเจริญเติบโตบริเวณที่มีความเข้มแสงต่ า

Page 36: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

38

ผลการวิเคราะห์น้ าในระบบปลูกรากด าใบยาวโดยไม่ใช้ดิน พบว่า อุณหภูมิของน้ ามีค่าเฉลี่ย 28.240.254 องศาเซลเซียส ซึ่งอยู่ในช่วงที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช ซึ่งควรมีค่าอยู่ระหว่าง 20-30 องศาเซลเซียส (ฝ่ายพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ, 2548) โสระยา (2544) กล่าวว่า อุณหภูมทิี่รากแปรเปลี่ยนไปตามอุณหภูมิของสารละลายซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช อุณหภูมิที่สูงขึ้น มีผล ให้ปริมาณ ออกซิเจน ที่ละลายน้ ามีค่าลดลง ซึ่งมีผลต่อการหายใจของราก ส าหรับปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ ามีค่าเฉลี่ย 6.990.290 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งอยู่ในระดับที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพรรณไม้น้ าในระบบปลูกโดยไม่ใช้ดิน ที่ควรมีปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ าสูงกว่า 6 มิลลิกรัมต่อลิตร (Benoit, 1992) เน่ืองจากการปลูกรากด าใบยาวในระบบปลูกโดยไม่ใช้ดินเป็นระบบที่มีการหมุนเวียนสารละลายธาตุอาหารอย่างต่อเน่ืองท าให้เกิดการเพิ่มปริมาณออกซิเจนอย่างสม่ าเสมอ (นพดล, 2550) รากพืชที่ได้รับปริมาณออกซิเจน อย่างเพียงพอส่งผลให้ การหายใจและการดูดธาตุอาหารของพืชเป็นไปได้ดีขึ้น (Benoit, 1992) ส าหรับปริมาณแอมโมเนีย รวม ไนไตรท์ และไนเตรท มีค่าเฉลี่ย 2.570.554, 0.38 0.252 และ 42.251.792 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามล าดับ โดยไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบที่ส าคัญในเอนไซม์ชนิดต่างๆ มีหน้าที่เร่งและควบคุมปฏิกิริยาในพืช ให้ด าเนินไปเป็นปกติ เช่น โคเอนไซม์ สารประกอบเหล่านี้เป็นโครงสร้างชีวโมเลกุลและเป็นตัวด าเนินการในกระบวนการ metabolism การที่พืชได้รับปริมาณไนโตรเจนในระดับที่เหมาะสมท าให้พืชมีใบขนาดใหญ่และแตก กิ่งก้านสาขาได้มากขึ้น (สมบุญ, 2538) ส าหรับปริมาณออร์โธฟอสเฟต มีค่าเฉลี่ย 13.260.681 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบของ ATP และโคเอนไซม์บางชนิด ได้แก่ NAD+, NADP+, FAD และโคเอนไซม์เอ ท าหน้าที่ถ่ายทอดพลังงานระหว่างสารในกระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ การสังเคราะห์แสง การหายใจ การแบ่งเซลล์ และการเจริญพัฒนาของยอดและราก (ยงยุทธ, 2546; นพดล, 2550 ; Marschner, 1995) การที่พืชได้รับฟอสฟอรัสอย่าง เพียงพอมีผลให้พืชเจริญเติบโตและสร้างพื้นที่ใบได้มากขึ้น และท าให้อัตราการสังเคราะห์แสงต่อหน่วยพื้นที่ใบเพิ่มมากขึ้น การเจริญเติบโตและผลผลิตสูงขึ้น (สุรเดช, 2530)

สรุป และข้อเสนอแนะ

ชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ และวิธีการฟอกฆ่าเชื้อที่เหมาะสมส าหรับการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อรากด าใบยาว

คือ การใช้ชิ้นส่วน ใบอ่อน มาผ่านการ ฟอกฆ่าเชื้อตามสูตรที่ 10 ซึ่งใช้สารละลาย คลอรอกซ์ ระดับ ความเข้มข้น 0.5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 1 5 นาที ตามด้วยสารละลายเมอคิวริ คคลอไรด์ ระดับความเข้มข้น 0.25 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที ซึ่งมี อัตราการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ 10 เปอร์เซ็นต์ และมีอัตราการเจริญพัฒนา 90 เปอร์เซ็นต ์

สูตรอาหารที่เหมาะสมส าหรับการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อรากด าใบยาว คือ อาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร สามารถชักน าให้เกิด

Page 37: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

39

ใบอ่อนได้มากที่สุด โดยมีจ านวน ใบอ่อนเฉลี่ย 3.790.713 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ และมีจ านวนรากที่เกิดขึ้นเฉลี่ย 3.950.705 รากต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ

การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อรากด าใบยาวเพื่อขยายพันธุ์ให้ได้ในเชิงปริมาณ จ าเป็นต้องชักน าให้เกิดใบอ่อนในปริมาณมากเพื่อเพิ่มจ านวนต้นอ่อนจ านวนมากในห้องปฏิบัติการ โดย การใช้ Kinetin ระดับ ความเข้มข้น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร สามารถชักน าให้เกิดใบอ่อนได้มากที่สุด โดยมีจ านวน ใบอ่อนเกิดขึ้นเฉลี่ย 6.751.612 ใบต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ และมีรากเกิดขึ้นเฉลี่ย 4.191.559 รากต่อชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ ภายในระยะเวลา 12 สัปดาห์

การน าต้นอ่อนรากด าใบยาวที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่ออายุ 12 สัปดาห์ มีน้ าหนักเร่ิมต้นเฉลี่ย 0.100.073 กรัมต่อต้น จ านวนใบเฉลี่ย 9.523.724 ใบต่อต้น และความสูงต้นเฉลี่ย 2.170.672 เซนติเมตร เมื่อน าออกปลูกทดสอบในระบบปลูกโดยไม่ใช้ดิน เป็นระยะเวลา 3 เดือน พบว่า ต้นรากด าใบยาวเจริญเติบโตได้ด ีโดยมีน้ าหนักเฉลี่ย 0.750.420 กรัมต่อต้น จ านวนใบเฉลี่ย 15.914.427 ใบต่อต้น ความสูงต้นเฉลี่ย 6.241.450 เซนติเมตร โดยต้นอ่อนมีน้ าหนัก ที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 0.650.420 กรัมต่อต้น จ านวนใบ ที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 6.390.4.427 ใบต่อต้น และความสูงต้นที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 4.071.450 เซนติเมตร และมีอัตรารอด 100% เมื่อเลี้ยงเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

อย่างไรก็ตาม การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อรากด าใบยาวควรมีการศึกษาและพัฒนาสูตรอาหารสังเคราะห์ที่สามารถลดต้นทุนการผลิตเพื่อส่งเสริมธุรกิจการผลิตพรรณไม้น้ าเพื่อการส่งออก ตลอดจนการศึกษาวิธีการเก็บรักษาพันธุ์ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืนต่อไป

เอกสารอ้างอิง

กวี สุจิปุลิ. 2533. ผลของ NAA ผงถ่าน และความเข้มข้นของวุ้นต่อการเกิดรากและการเจริญเติบโตของ

ต้นอ่อนกล้วยพันธุ์ Grand Nain บนอาหารสังเคราะห์. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 29 หน้า.

กัลยา วานิชย์บัญชา. 2544. การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล. ภาควิชาสถิติ, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 635 หน้า.

กาญจนรี พงษ์ฉวี, พัฒนพงศ์ ชูแสง และ วิจารณ์ ทองมีเอียด. 2542. การขยายพันธุ์ผมหอมโดยวิธีเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ. เอกสารวิชาการฉบับที่ 3/2542. สถาบันวิจัยสัตว์น้ าสวยงามและสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ า, กรมประมง. 22 หน้า.

กาญจนรี พงษ์ฉวี และ ณฐกร ประดิษฐ์สรรพ์. 2547. ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีต่อการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่ออนูเบียส (Anubias nana Engler, 1899). เอกสารวิชาการฉบับที่ 13/2547. ส านักวิจัยและพัฒนาประมงน้ าจืด, กรมประมง. 24 หน้า.

Page 38: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

40

จารุพันธ์ ทองแถม และ ปิยเกษตร สุขสถาน. 2550. FERNS. ส านักพิมพ์สารคดี, กรุงเทพมหานคร. 456 หน้า. จิรพันธ์ ศรีทองกุล. 2546. ผลของอาหารในการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อและวัสดุปลูกส าหรับกล้วยนวล. ปัญหา

พิเศษปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 26 หน้า. ณฐกร ประดิษฐ์สรรพ์ และ กาญจนรี พงษ์ฉวี. 2547. การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อชบาน้ า. เอกสารวิชาการฉบับที่

33/2547. ส านักวิจัยและพัฒนาประมงน้ าจืด, กรมประมง. 25 หน้า. นพดล เรียบเลิศหิรัญ. 2550. การปลูกพืชไร้ดิน. สุวีริยาสาส์น, กรุงเทพมหานคร. 172 หน้า. บุญยืน กิจวิจารณ.์ 2544. เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ. คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น,

ขอนแก่น. 207 หน้า. ประศาสตร์ เกื้อมณี. 2538. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืช. ภาควิชาพฤกษศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์,

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 158 หน้า. ฝ่ายพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ. 2548. เทคโนโลยีการปลูกพืชไร้ดิน (Soilless Culture). สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, กรุงเทพมหานคร. 35 หน้า. มณฑา วงศ์มณีโรจน.์ 2542. สารอาหารส าหรับการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืช. ใน: เอกสารประกอบการฝึกอบรม

ทางวิชาการ เทคนิคการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืชขั้นพื้นฐาน. ณ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก าแพงแสน, นครปฐม. หน้า 53-65.

มณีรัตน์ หวังวิบูลย์กิจ. 2540. ชนิดและปริมาณน้ ายาฟอกฆ่าเชื้อที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพรรณไม้น้ าสกุลอนูเบียส. เอกสารวิชาการฉบับที่ 186. สถาบันวิจัยประมงน้ าจืด, กรมประมง. 18 หน้า.

ไมตรี ดวงสวัสดิ์ และ จารุวรรณ สมศิริ. 2528. คุณสมบัติของน้ าและวิธีวิเคราะห์ส าหรับการวิจัยทางการประมง. สถาบันประมงน้ าจืดแห่งชาติ, กรมประมง, กรุงเทพมหานคร. 115 หน้า.

ยงยุทธ โอสถสภา. 2546. ธาตุอาหารพืช. ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 424 หน้า. รงรอง วิเศษสุวรรณ. 2528. สูตรอาหารที่เหมาะสมในการเพิ่มปริมาณกลอกซีเนียเฟิร์นและลิเซียนทัส

ในสภาพปลอดเชื้อ. ปัญหาพิเศษปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 27 หน้า. รมณีย์ เจริญทรัพย์. 2547. การเตรียมชิ้นส่วนพืชและการฟอกฆ่าเชื้อ. ใน: เอกสารประกอบการฝึกอบรม

เชิงปฏิบัติการเร่ืองเทคนิคการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืชเบื้องต้น. วันที่ 17-19 สิงหาคม 2547. ณ สถาบัน วิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. หน้า 37-53.

รังสฤษดิ์ กาวีต๊ะ. 2540. การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืช : หลักการและเทคนิค. ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 219 หน้า.

วรสา หงษ์รัตน์. 2548. การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อต้นใบพาย (Cryptocoryne cordata Griff.) วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 71 หน้า.

วรางคณา กาซัม. 2552. การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อและปัจจัยที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพรรณไม้น้ า ไส้ปลาไหล Barclaya longifolia (Wallich, 1827). วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพมหานคร. 68 หน้า.

Page 39: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

41

วันเพ็ญ มีนกาญจน์. 2547. การขยายพันธุ์บอนแดง (Cryptocoryne blassii De wit, 1960) โดยวิธีเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ. เอกสารวิชาการฉบับที่ 3/2547. ราชการบริหารส่วนกลาง, กรมประมง. 40 หน้า.

ศาลักษณ์ พรรณศิร.ิ 2547. อาหารเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืช. เชื้อ. ใน: เอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเร่ืองเทคนิคการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืชเบื้องต้น. วันที่ 17-19 สิงหาคม 2547. ฝ่ายเคร่ืองมือวิทยาศาสตร์กลาง สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. หน้า 1-36.

ศิวพงศ์ จ ารัสพันธุ์. 2546. การเพาะเลี้ยงเยื้อเยื่อพืช. สถาบันราชภัฏอุดรธานี, อุดรธานี. 187 หน้า. สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์. 2538. สรีรวิทยาของพืช. ภาควิชาพฤกษศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์,

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 213 หน้า. สุรเดช จินตกานนท์. 2530. ความอุดมสมบูรณ์ของดิน. ภาควิชาปฐพีวิทยา, คณะเกษตร,

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 443 หน้า. โสระยา ร่วมรังษี. 2544. การผลิตพืชสวนแบบไม่ใช้ดิน. ส านักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร. 78 หน้า. อรดี สหวัชรินทร์. 2526. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ. ภาควิชาพืชสวน, คณะเกษตร,

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 38 หน้า. Amaki, W. and H. Higuchi. 1991. A possible propagation system of Nephrolepis, Asplenium, Pteris,

Adiantum and Rhumora through tissue culture. Acta Hort. 300: 237-243. Benoit, F. 1992. Practical Guide For Simple Soilless Culture Tecniques Ecology : Ergonomy Economy.

European Vegetable R&D Center, Belgium. 72 pp. Bhojwani, S.S. and M.K. Razdan. 1996. Plant Tissue Culture: Theory and Practice. A Revised Edition.

Elsevier, Amsterdam. 767 pp. Brock, T.G. and P.B. Kaufman. 1991. Growth regulators : an account of hormones and growth regulation.

In: Steward, F.G. (ed.) . Plant Physiology. Academic Press Inc., London. p. 277-340. Cao, D. H., K. Johnson, and F. Torpy. 2006. Liquid culture for efficient micropropagation of Wasabia

japonica (Miq.) Matsumura. In vitro Cell. Dev. Biol. 42: 548-552. Geier, T. 1990. Anthurium. In: Ammirato, P. V., D. A. Evans, W. R. Sharp and Y. P. S. Bajaj, eds.

Handbook of Plant Cell Culture: Vol. 5 Ornamental Species. Mc Graw-Hill Publishing Company, New York. p. 228-252.

Hopkins, W.G. and N.P.A. Huner. 2004. Introduction to Plant Physiology. 3rd edition. John Wiley & Sons, USA. 560 pp.

Hwang, S.C., C.L. Chen, J.C. Lin and H.L. Lin. 1984. Cultivation of banana using plantlet from meristem culture. HortScience. 19 (2) : 231-233.

Kyte, L. and J. Kleyn. 1999. Plants from Test Tube. Timber press., Inc., Oregon. 240 pp.

Page 40: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

42

Lewis-Back, M.S. 1993. Experimental Design and Methods. International handbook of quantitative application in social sciences, London. 418 pp.

Marschner, H. 1995. Mineral Nutrition of Higher Plants. Academic Press, New York. 887 pp. Morel, G. M. 1964. Tissue Culture-A new means of Clonal Propagation of Orchids. Amer. Orchid Soc. Bull.

33: 473-478. Murashige, T. and F. Skoog. 1962. A revised medium for rapid growth and bioassays with tobacco

tissue culture. Physiol. Plant. 15: 473-497. Nayar, B. K. 1961. Fern of India No. III Microsorium. Bulletin of the National Botanic Gardens. 58: 26-28. Payne, G.F., V. Bringi, C. Prince and M.L. Shuler. 1992. Plant cell and Tissue Culture in Liquid Systems.

Oxford University Press, New York. 346 pp. Rataj, K. and T.J. Horeman. 1977. Aquarium Plant: Their Identification, Cultivation and Ecology. T.F.H

Publ. Inc., West Sylvania. 448 pp. Smith, R.H. 1992. Plant Tissue Culture Techniques and Experiments. Academic Press, INC., California.

171 pp. Zhou, C. A., S. Jiang, J. Yin, D. Wang, Z. Fang, C. Sun and C. Qian. 2006. An in vitro propagation protocol of

two submerged macrophytes for lake revegetation in East China. Aquatic Botany. 85: 44-52.

Page 41: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

43

ภาคผนวก

ตารางผนวกท่ี 1 ระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะห์สูตร MS

องค์ประกอบของอาหาร ระดับความเข้มข้นของอาหารสังเคราะห์สูตร MS

¼ MS ½ MS ¾ MS MS Macronutrients (mg/l)

NH4NO3 412.500 825.000 1,237.500 1,650.000

KNO3 475.000 950.000 1,425.000 1,900.000

CaCl2 .2H2O 110.000 220.000 330.000 440.000

MgSO4 .7H2O 92.500 185.000 277.500 370.000

KH2PO4 42.500 85.000 127.500 170.000 Micronutrients (mg/l)

KI 0.208 0.415 0.623 0.830

H3BO3 1.550 3.100 4.650 6.200

MnSO4 .4H2O 5.575 11.150 16.725 22.300

ZnSO4 .7H2O 2.150 4.300 6.450 8.600

Na2MoO4 .2H2O 0.063 0.125 0.188 0.250

CuSO4 .5H2O 0.006 0.013 0.019 0.025

CoCl2 .6H2O 0.006 0.013 0.019 0.025

FeSO4 .7H2O 6.950 13.900 20.850 27.800

Na2EDTA 10.750 21.500 32.250 43.000 Organics (mg/l)

Myo-Inositol 25.000 50.000 75.000 100.000

Nicotinic acid 0.125 0.250 0.375 0.500 Pyridoxine-HCL 0.125 0.250 0.375 0.500

Thiamine-HCL 0.125 0.250 0.375 0.500 Carbohydrates (g/l) Sucrose 30.000 30.000 30.000 30.000 Agar 6.500 6.500 6.500 6.500

Page 42: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

44

ตารางผนวกท่ี 2 องค์ประกอบของธาตุอาหารส าหรับใช้เตรียมสารละลายธาตุอาหาร 1,000 ลิตร

ชนิดปุ๋ยเคมี กรัม

Stock A

Calcium nitrate 1,000

Iron chelate 65 Stock B Mono ammonium phosphate 50

Mono potassium phosphate 150

Potassium nitrate 700

Magnesium sulphate 500 Manganese sulphate 13.0

Zinc sulphate 4.9

Copper sulphate 1.8

Ammonium molybdate 1.9 Boric acid 6.0

Page 43: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

45

ตารางผนวกท่ี 3 ผลวิเคราะห์ความแปรปรวนของจ านวนใบอ่อนของรากด าใบยาวซึ่งเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์สูตร MS และผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

Source SS df MS F Sig.

A 19.869 3 6.623 9.290 .000

B 14.017 1 14.017 19.661 .000

A * B 9.501 3 3.167 4.442 .005

Corrected Total 134.784 133

ตารางผนวกท่ี 4 ผลวิเคราะห์ความแปรปรวนของจ านวนรากของรากด าใบยาวซึ่งเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์สูตร MS และผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

Source SS df MS F Sig.

A .559 3 .186 8.638 .000

B .236 1 .236 10.937 .002

A * B 1.269 3 .423 19.615 .000

Corrected Total 4.262 133

ตารางผนวกท่ี 5 ผลวิเคราะห์ความแปรปรวนของจ านวนใบอ่อนของรากด าใบยาวซึ่งเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS และผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี Kinetin ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

Source SS df MS F Sig.

A 111.532 3 37.177 18.425 .000

B 34.693 4 8.673 4.298 .002

A * B 17.218 12 1.435 .711 .740

Corrected Total 636.678 335

Page 44: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

46

ตารางผนวกท่ี 6 ผลวิเคราะห์ความแปรปรวนของจ านวนรากของรากด าใบยาวซึ่งเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS และผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี Kinetin ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

Source SS df MS F Sig.

A 171.035 3 57.012 27.603 .000

B 35.614 4 8.903 4.311 .002

A * B 28.076 12 2.340 1.133 .333

Corrected Total 807.217 335

ตารางผนวกท่ี 7 ผลวิเคราะห์ความแปรปรวนของจ านวนใบอ่อนของรากด าใบยาวซึ่งเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS และผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี BA ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

Source SS df MS F Sig.

A 24.236 3 8.079 3.784 .011

B 30.653 4 7.663 3.589 .007

A * B 19.608 12 1.634 .765 .686

Corrected Total 593.621 313

Page 45: Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933 Polypodiaceae 2550; … · 2012-07-10 · 3 ค าน า รากด าใบยาว หรือ กูดหางนกกะลิง

47

ตารางผนวกท่ี 8 ผลวิเคราะห์ความแปรปรวนของจ านวนรากของรากด าใบยาวซึ่งเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ระดับความเข้มข้น ½ MS และผงถ่านกัมมันต์ระดับความเข้มข้น 1.0 กรัมต่อลิตร ที่มี BA ร่วมกับ NAA ระดับความเข้มข้นต่างๆ กัน เมื่อเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์

Source SS df MS F Sig.

A 70.497 3 23.499 7.746 .000

B 49.943 4 12.486 4.116 .003

A * B 42.505 12 3.542 1.168 .308

Corrected Total 848.996 313